ศาสตราจารย์ ดร.บรรเจิด สิงคะเนติ

Professor Dr. Banjerd Singkaneti

ผู้อำนวยหลักสูตรนิติศาสตรดุษฎีบัณฑิต

สาขาที่มีความเชี่ยวชาญ

  • กฎหมายมหาชน (Public Law)

วิชาที่สอน

หลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต

  • วิชาสังคมวิทยากฎหมาย
  • วิชากฎหมายรัฐธรรมนูญและสถาบันการเมืองชั้นสูง
  • วิชาทฤษฎีและหลักกฎหมายมหาชน
  • วิชากฎหมายปกครองชั้นสูง
  • วิชากฎหมายวิธีพิจารณาคดีปกครอง
  • วิชาหลักกฎหมายเกี่ยวกับคดีทางรัฐธรรมนูญ
  • วิชากฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ

นิติศาสตรดุษฎีบัณฑิต

  • วิชา นด 6000 กฎหมายกับการพัฒนาชั้นสูง
  • วิชา นด 6002 ปัญหากฎหมายกับการพัฒนาสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองชั้นสูง
  • วิชา นด 7062 ปัญหากฎหมายมหาชนชั้นสูง

การศึกษา

มหาวิทยาลัยรังสิต

  • ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาผู้นำทางสังคม ธุรกิจ และการเมือง, 2008

Ruhr –Universitaet, Bochum, Germany

  • Doktor der Rechte (Dr.jur.), 1998
  • Magister Legum (LL.M), 1995

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

  • นิติศาสตรมหาบัณฑิต (กฎหมายมหาชน), 1992

สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา

  • ประกาศนียบัตรเนติบัณฑิตยสภา, 1986

มหาวิทยาลัยรามคำแหง

  • นิติศาสตรบัณฑิต, 1984

ประวัติการทำงาน

2553-ปัจจุบัน

  • อาจารย์ประจำคณะนิติศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

ประสบการณ์ทำงาน

  • ผู้ช่วยเลขานุการกรรมการร่างกฎหมาย สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
  • พนักงานคดีปกครอง สำนักงานศาลปกครอง
  • รองศาสตราจารย์ ประจำคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  •  หัวหน้าภาควิชากฎหมายมหาชน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • อาจารย์พิเศษคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
  • อาจารย์พิเศษคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  •  อาจารย์พิเศษคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
  • อาจารย์พิเศษคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
  • อาจารย์พิเศษคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชธานี
  • ผู้บรรยายหลักสูตรกฎหมายมหาชนภาครัฐ สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
  • ผู้บรรยายหลักสูตรนักกฎหมายมหาชน สถาบันพระปกเกล้า

ประวัติการดำรงตำแหน่งกรรมการและอนุกรรมการ

  • อนุกรรมการ คณะกรรมาธิการ การเมืองสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
  • กรรมการตรวจสอบการกระทำที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่รัฐ (คตส.)
  • กรรมการสภามหาวิทยาลัยศิลปากร
  • กรรมการสภาวิจัยแห่งชาติ สาขานิติศาสตร์
  • กรรมการวินัยการเงินและการคลัง สำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน
  • กรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
  • ที่ปรึกษากฎหมาย สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
  • กรรมการตรวจสอบโครงการไทยเข้มแข็ง กระทรวงสาธารณสุข
  • กรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
  • กรรมการพัฒนาระบบและกลไกการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ
  • กรรมการพิจารณาแนวทางการแก้ไขรัฐธรรมนูญตามข้อเสนอของคณะกรรมการสมานฉันท์ เพื่อการปฏิรูปการเมืองและศึกษาการแก้ไขรัฐธรรมนูญ
  • อนุกรรมการปฏิรูประบบการจัดการที่ดิน ฐานทรัพยากร สิ่งแวดล้อม และน้ำ ของ คณะกรรมการปฏิรูป
  • ประธานอนุกรรมการวิเคราะห์กรอบโครงสร้างรัฐธรรมนูญเพื่อการปฏิรูปโครงสร้างทางการเมือง
  • กรรมการปฏิรูปกฎหมาย

ผลงานทางวิชาการ

บทความ และเอกสารทางวิชาการ

  • บรรเจิด สิงคะเนติ. “วิเคราะห์ปัญหาการแต่งตั้งตุลาการศาลรัฐธรรมนูญของไทยโดยอาศัยพื้นฐานทางทฤษฎี ของเยอรมัน”, วารสารนิติศาสตร์ปีที่ 28 ฉบับที่ 3 กันยายน 2541, หน้า 479-492.
  • บรรเจิด สิงคะเนติ. “วิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญไทยเปรียบเทียบกับศาลรัฐธรรมนุญแห่งสหพันธ์สาธารณรัฐ เยอรมัน”, วารสารธรรมศาสตร์ ปีที่ 24 ฉบับที่ 2 (พ.ค.-ส.ค. 2541), หน้า 76-99.
  • บรรเจิด สิงคะเนติ. “ศาลรัฐธรรมนูญเปรียบเทียบ” วารสารกฎหมายปกครอง เล่ม 17 ตอน 1 (เมษายน 2541) หน้า 33-35.
  • บรรเจิด สิงคะเนติ. “วิเคราะห์ปัญหาเรื่องขอบเขตอานาจศาลรัฐธรรมนูญจากคาวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ” วารสารกฎหมายปกครอง เล่ม 17 ตอน 1 (เมษายน 2541) หน้า 157-166.
  • บรรเจิด สิงคะเนติ. “หลักประกันสิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญฉบับใหม่” วารสารกฎหมายปกครอง เล่ม 17 ตอน 2 (สิงหาคม 2541) หน้า 30-56.
  • บรรเจิด สิงคะเนติ, และสมศักดิ์ นวตระกูลพิสุทธิ์, “หลักความได้สัดส่วนตามหลักกฎหมายของเยอรมันและฝรั่งเศส” วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 1 เล่ม 2 (พฤษภาคม – สิงหาคม 2542) หน้า 40-70.
  • บรรเจิด สิงคะเนติ. “เงื่อนไขการพิจารณาคดีปกครองเยอรมัน” วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 29 ฉบับที่ 2 (มิถุนายน 2542) หน้า 277-299.
  • บรรเจิด สิงคะเนติ, และสมศักดิ์ นวตระกูลพิสุทธิ์, “ปัญหาการบังคับใช้พระราช บัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540” วารสารกฎหมายปกครอง เล่ม 19 ตอนที่ 1 (เมษายน 2543) หน้า 1-10.
  • บรรเจิด สิงคะเนติ. “ข้อพิจารณาเกี่ยวกับอำนาจฟ้องของหน่วยงานของรัฐในการฟ้องโต้แย้งคำวินิจฉัย ของคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร” วารสารกฎหมายปกครอง เล่ม 19 ตอน 1 (เมษายน 2543) หน้า 11-19.
  • บรรเจิด สิงคะเนติ. “กระบวนการรับฟ้องความคิดเห็นสาธารณะหรือกระบวนการกำหนดแผนงาน das Planfeststellungsverfahren ตามกฎหมายเยอรมัน, รพี 43, คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัย อัสสัมชัญ, หน้า 86-96.
  • บรรเจิด สิงคะเนติ. “หลักการพื้นฐานของสิทธิและเสรีภาพ”, นิติสยามปริทัศน์’43 คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม หน้า 60-82.
  • สมคิด เลิศไพฑูรย์, บรรเจิด สิงคะเนติ, เขตอำนาจศาลรัฐธรรมนูญไทย ตามมาตรา 264 และมาตรา 266 ศาลรัฐธรรมนูญไทย อดีต ปัจจุบัน อนาคต, สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, กรุงเทพฯ 2543.
  • บรรเจิด สิงคะเนติ. “วิเคราะห์คำพิพากษากรณีการเลือกตั้ง ส.ท.สมุทรปราการ, ผู้จัดการรายวัน, ฉบับวันอังคารที่ 29 มิถุนายน 2542, หน้า 16.
  • บรรเจิด สิงคะเนติ. “ศาลรัฐธรรมนูญไทย : กลไกทางการเมืองที่ต้องจับตามอง” ผู้จัดการรายวัน, ตุลาคม 2542.
  • บรรเจิด สิงคะเนติ. คดีปกครองตามมาตรา 9 (2) และ (3) ตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดี ปกครอง พ.ศ. 2542, เอกสารประกอบการฝึกอบรม หลักสูตรพนักงานคดีปกครอง ระดับกลาง, ธันวาคม 2543.
  • บรรเจิด สิงคะเนติ. “กรณีการแต่งตั้งตุลาการศาลปกครองสูงสุด : ความพยายามทาให้ขัดกับรัฐธรรมนูญสิ่งที่เป็นไป ไม่ได้, ผู้จัดการรายวัน.
  • บรรเจิด สิงคะเนติ. “สิทธิขั้นพื้นฐานทางสังคม” วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 3 เล่ม 9 เดือนกันยายน – ธันวาคม พ.ศ. 2544 หน้า 36-44.
  • บรรเจิด สิงคะเนติ. “ข้อพิจารณาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างศาลปกครองกับองค์กรตามรัฐธรรมนูญ” ในรวม บทความจากเว็บไซต์ www.pub-law.net สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ
  • บรรเจิด สิงคะเนติ. บทวิเคราะห์คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ : ศึกษากรณีความขัดแย้งเรื่องเขตอำนาจศาลระหว่าง ศาลรัฐธรรมนูญกับศาลปกครอง” วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 30 ฉบับที่ 4 (ธันวาคม 2543) หน้า 794-815, และ ในรวมบทความจากเว็บไซต์ www.pub-law.net สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ มีนาคม 2545, หน้า 55-96.
  • บรรเจิด สิงคะเนติ. การควบคุมและการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ, ในรวมบทความจากเว็บไซต์ www.pub-law.net สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ มีนาคม 2545, หน้า 341-378.
  • บรรเจิด สิงคะเนติ. “ปัญหาองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ” วารสารศาลปกครอง ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 (กันยายน – ธันวาคม 2544) หน้า 1-49.
  • บรรเจิด สิงคะเนติ. “ข้อสงเกตจากคำวินิจฉัยของศาลในคดีพิพาทเกี่ยวกับคำวินิจฉัยของคณะกรรมการการเลือกตั้ง”, วารสารวิชาการศาลปกครอง ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 (กันยายน – ธันวาคม 2544) หน้า 154-169.
  • บรรเจิด สิงคะเนติ. “คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญสหพันธ์ของเยอรมัน : ศึกษากรณีการควบคุมตรวจสอบความชอบ ด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมาย”, วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 3 เล ม 7 (มกราคม – เมษายน 2544).
  • บรรเจิด สิงคะเนติ. ปัญหาเรื่องการพิจารณาอุทธรณ์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น, จากเว็บไซต์ www.pub-law.net 1 มีนาคม 2545.
  • บรรเจิด สิงคะเนติ. วิเคราะห์คำวินิจฉัยศาลปกครองกรณียกฟ้อง 3 ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ (853/2545), จากเว็บไซต์ www.pub-law.net 6 พฤษภาคม 2545.
  • บรรเจิด สิงคะเนติ. วิเคราะห์คำวินิจฉัยศาลปกครอง เรื่อง ขอให้เพิกถอนมติที่ประชุมคณะกรรมการองค์การโทรศัพท์ แห่งประเทศไทยเกี่ยวกับการตัดเชื่อมโยงโครงข่ายโทรคมนาคม (คำสั่งที่ 645/2545) จากเว็บไซต์ www.pub-law.net .
  • บรรเจิด สิงคะเนติ. “บทเรียนจากพระราชกำหนดนิรโทษกรรมฯ 17 พฤษภาคม 2535 ถึงบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ ฉบับปัจจุบัน” จดหมายข่าวการเมืองใหม่ ปีที่ 2 ฉบับที่ 6 (พฤษภาคม – สิงหาคม 2545) หน้า 55-64.
  • บรรเจิด สิงคะเนติ. วิเคราะห์คำวินิจฉัยศาลปกครอง เรื่อง ขอให้แก้ไข ยกเลิกและทำสัญญาใหม่ให้สอดคล้องกับ พระราชบัญญัติประกอบกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2544 (646/2544), วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 32 เล่ม 1, หน้า 196-200.
  • บรรเจิด สิงคะเนติ. “การฟ้องโต้แย้งคำสั่งทำงปกครองตามกฎหมายเยอรมัน” รวมบทความทางวิชาการ เนื่องใน โอกาสครบรอบ 72 ปี ศาสตราจารย์ ดร. อมร จันทรสมบูรณ์, สมาคมกฎหมายมหาชนแห่งประเทศไทย 2545, หน้า 187-215.
  • บรรเจิด สิงคะเนติ. เอกสารถอดเทปคำบรรยาย “ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ และพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ” โครงการฝึกอบรมพิเศษ หลักสูตรเกี่ยวกับศาลปกครองและวิธี พิจารณาคดีปกครอง รุ่นที่ 1 วันที่ 8-9 กันยายน 2544 ณ โรงแรมแอมบาสเดอร์ กรุงเทพฯ, สวัสดิการด้านการ ฝึกอบรม สำนักงานศาลปกครอง.
  • บรรเจิด สิงคะเนติ. “หลักการแสวงหาความจริงโดยศาล (Untersuchungsgrungsatz) ของศาลรัฐธรรมนูญเยอรมัน”, วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 32 ฉบับที่ 2 (มิถุนายน) 2545, หน้า 318-327.
  • บรรเจิด สิงคะเนติ. เอกสารประกอบคำบรรยายวิชา น. 351 (กฎหมายปกครอง 2) คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (อัดสำเนา จำนวน 90 หน้า)
  • บรรเจิด สิงคะเนติ. “ทำไมพระราชกำหนดในการแปรสัญญาโทรคมนาคมจึงไม่เป็นไปตามมาตรา 218 วรรคหนึ่งของ รัฐธรรมนูญ”, จากเว็บไซต์ www.pub-law.net.
  • บรรเจิด สิงคะเนติ. “ข้อพิจารณาเกี่ยวกับสิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญไทย พุทธศักราช 2540”, วารสาร นิติศาสตร์ ปีที่ 32 ฉบับที่ 3 (กันยายน 2545).
  • บรรเจิด สิงคะเนติ. บทวิเคราะห์คำวินิจฉัยศาลปกครอง เรื่องขอให้เพิกถอนคำสั่งทางปกครองที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย (กรณีของนายสุทธิชัย หยุ่นกับพวก เป็นผู้ฟ้องคดี, สำนักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน ผู้ถูกฟ้อง) คำ วินิจฉัยศาลปกครองกลางที่ 1251, 1252/2545, วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 32 ฉบับที่ 3 (กันยายน 2545).
  • บรรเจิด สิงคะเนติ. “หลักการแสวงหาความจริงโดยศาล (Untersuchungsgrungsatz) ในคดีปกครองของประเทศ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมันนี”, วารสารวิชาการศาลปกครอง ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม 2545, หน้า 158-169.
  • บรรเจิด สิงคะเนติ. “การตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่กระทบต่อสิทธิมนุษยชน” วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 39 ฉบับที่ 1 (มีนาคม 2552) (หน้า 33 – 56)
  • บรรเจิด สิงคะเนติ. “การปฏิรูปการเมืองไทย” รวมบทความที่ระลึกในโอกาสอายุครบ 60 ปี รองศาสตราจารย์สมยศ เชื้อไทย, คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, พ.ศ. 2553
  • บรรเจิด สิงคะเนติ. “การทุจริตเชิงนโยบาย : ลักษณะและความหมาย”, เอกสารประกอบการประชุมนิติศาสตร์ แห่งชาติ ครั้งที่ 8 เรื่อง “การทุจริตคอร์รัปชั่นในภาครัฐและเอกชน” วันที่ 24 สิงหาคม 2544 ณ โรงแรม ดิ เอมเมอรัลด์ กรุงเทพ, จัดโดย คณะกรรมการสภาวิจัยแห่งชาติ สาขานิติศาสตร์, สานักงานคณะกรรมการ วิจัยแห่งชาติ
  • บรรเจิด สิงคะเนติ. “สิทธิชุมชนกับการแก้ปัญหาเหลื่อมล้ำทางสังคม” รายงานสืบเนื่องการประชุม วิชาการระดับชาติ เนื่องในโอกาสครบรอบปีที่ 45 แห่งการสถาปนาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ 1 เมษายน 2554, พ.ศ. 2554
  • บรรเจิด สิงคะเนติ. “หลักการและแนวคิด “จังหวัดจัดการตนเอง”ตามร่างพระราชบัญญัติการบริหารจังหวัดปกครอง- ตนเอง พ.ศ……” รายงานสืบเนื่องการประชุม วิชาการระดับชาติ เนื่องในโอกาสครบรอบปีที่ 48 แห่งการ สถาปนาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ 1 เมษายน 2557, พ.ศ. 2557
  • บรรเจิด สิงคะเนติ. “การนำแนวคิดจังหวัดจัดการตนเองมาสู่การร่างพระราชบัญญัติจังหวัดจัดการตนเอง พ.ศ. …..” วารสารนิติศาสตร์ ฉบับเดือนมิถุนายน 2557 (หน้า 349 – 380), พ.ศ. 2557
  • บรรเจิด สิงคะเนติ. “สิทธิชุมชนในประชาคมอาเซียน” รายงานสืบเนื่องการประชุม วิชาการระดับชาติ เนื่องในโอกาส ครบรอบปีที่ 48 แห่งการ สถาปนาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ 1 เมษายน พ.ศ. 2558

งานวิจัย

  • สมคิด เลิศไพฑูรย์ และบรรเจิด สิงคะเนติ, เรื่อง เขตอำนาจศาลรัฐธรรมนูญไทยตามมาตรา 264 และมาตรา 266 เสนอต่อสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, เมษายน 2543.
  • บรรเจิด สิงคะเนติ, ผู้วิจัยร่วม เรื่อง ปัญหาการบังคับใช้พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 เสนอต่อ คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ, กรกฎาคม 2543.
  • บรรเจิด สิงคะเนติ และคณะ เรื่อง การเปิดเผยเอกสารที่เกี่ยวกับการดำเนินการทางวินัย” เสนอต่อคณะกรรมการ ข้อมูลข่าวสารของราชการ, สิงหาคม 2543.
  • บรรเจิด สิงคะเนติ “กระบวนการพิจารณาโครงการ (Planfeststellungsverfahren) ตามกฎหมายเยอรมัน” เสนอต่อ สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา, มีนาคม 2544.
  • บรรเจิด สิงคะเนติ “การบังคับคดีตามกฎหมายเยอรมัน” เอกสารประกอบการสัมมนาเรื่องการบังคับคดี, ระหว่างวันที่ 25-27 พฤษภาคม 2544 ณ โรงแรมดุสิตรีสอร์ท พัทยา จ.ชลบุรี
  • บรรเจิด สิงคะเนติ. ผู้วิจัยร่วม เรื่อง “การอ้างศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์หรือใช้สิทธิและเสรีภาพของบุคคลตามมาตรา 28” เสนอต่อสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, กรกฎาคม 2544.
  • บรรเจิด สิงคะเนติ “ปัญหาองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ” เอกสารประกอบการประชุมนิติศาสตร์แห่งชาติ ครั้งที่ 2 กลุ่มกฎหมายการเมืองการปกครองและบริหารราชการแผ่นดิน” วันที่ 27-28 กันยายน 2544 ณ ศูนย์การ ประชุมสหประชาชาติ.
  • บรรเจิด สิงคะเนติ. ผู้วิจัยร่วม เรื่อง ศาลรัฐธรรมนูญกับการปฏิบัติพันธกิจตามรัฐธรรมนูญ” เสนอต่อสถาบัน พระปกเกล้า, พฤศจิกายน 2544
  • บรรเจิด สิงคะเนติ. ผู้วิจัยร่วม เรื่อง “อำนาจหน้าที่และการประสานงานระหว่างผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภากับศาล ปกครอง” เสนอต่อสำนักงานศาลปกครอง, ธันวาคม 2544.
  • บรรเจิด สิงคะเนติ. ผู้วิจัยร่วม เรื่อง “หลักกฎหมายปกครองเยอรมัน” เสนอต่อสำนักงานศาลปกครอง, ธันวาคม 2544.
  • บรรเจิด สิงคะเนติ และคณะ สิทธิและโอกาสทางการศึกษาตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 และ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542, เสนอต่อสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, มกราคม 2545.
  • บรรเจิด สิงคะเนติ. ผู้วิจัยร่วม เรื่อง “การสร้างระบบความพร้อมรับผิดในระบบราชการ” (Accountability in Thai public Service) เสนอต่อสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.), 2545.
  • บรรเจิด สิงคะเนติ. ผู้วิจัยร่วม เรื่อง “โครงการศึกษาเพื่อพัฒนาดัชนีวัดผลการพัฒนาระบบบริหารจัดการที่ดี” เสนอต่อ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, กันยายน 2545.
  • บรรเจิด สิงคะเนติ. ผู้ร่วมวิจัย เรื่อง “หลักกฎหมายปกครอง” ตามข้อสังเกตของ ศ.ดร.อมร จันทรสมบูรณ์, ในโอกาส ครบรอบ 72 ปี ศ.ดร.อมร จันทรสมบูรณ์, เสนอต่อสถาบันพระปกเกล้า, กันยายน 2545.
  • บรรเจิด สิงคะเนติ. ผู้วิจัยร่วม เรื่อง การบังคับคดีปกครอง เสนอต่อสานักงานศาลปกครอง โดยสถาบันวิจัยและให้ คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • บรรเจิด สิงคะเนติ และศาสตรา โตอ่อน สิทธิและเสรีภาพ เสนอต่อคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กุมภาพันธ์ 2546.
  • บรรเจิด สิงคะเนติ และคณะ การปฏิบัติงานตามระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ เสนอต่อสำนักงาน คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ โดยสถาบันวิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
  • บรรเจิด สิงคะเนติ และคณะ การปรับปรุงระบบข้อมูลข่าวสารและการปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของ ราชการส่วนท้องถิ่น เสนอต่อสำนักงานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ โดยสถาบันวิจัยและให้ คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
  • บรรเจิด สิงคะเนติ. ผู้วิจัยร่วม โครงการศึกษาจัดทำความเห็นทางวิชาการเกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารลักษณะ พิเศษต่าง ๆ และการศึกษาเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางกฎหมายที่เกี่ยวเนื่องกับกฎหมายข้อมูลข่าวสารของทาง ราชการ เสนอต่อสำนักงานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของทางราชการ โดยสถาบันวิจัยและให้คำปรึกษาแห่ง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, มิถุนายน 2546.
  • บรรเจิด สิงคะเนติ. ผู้วิจัยร่วม โครงการศึกษาวิจัยเรื่อง โครงสร้างทางนโยบายและยุทธศาสตร์ของสถาบันวิจัยระบบ สาธารณสุขในอนาคต เสนอต่อ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข
  • บรรเจิด สิงคะเนติ และคณะ โครงการศึกษาวิจัยเรื่องกฎหมายที่เกี่ยวกับการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เสนอต่อ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข , ธันวาคม 2547
  • บรรเจิด สิงคะเนติ และคณะ โครงการศึกษาวิจัยเรื่องการอนุญาตจัดส่งคนหางานไปทำงานในต่างประเทศตาม พระราชบัญญัติจัดหางานและคุ้มครองคนหางาน พ.ศ. 2528 เสนอต่อ กรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน, สิงหาคม 2548
  • บรรเจิด สิงคะเนติ “การคุ้มครองชั่วคราวและการบังคับให้เป็นไปตามคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ”, สำนักงานศาล รัฐธรรมนูญ, 2548
  • บรรเจิด สิงคะเนติ และคณะ โครงการศึกษาวิจัย เรื่อง แนวทางการพัฒนาระบบการตรวจเงินแผ่นดินของไทย (Approaches to Reforming The Thai State Audit System) เสนอต่อ สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน, สิงหาคม 2550
  • บรรเจิด สิงคะเนติ. ผู้วิจัยร่วม โครงการศึกษาวิจัยเรื่องเรื่องความพร้อมของประเทศไทยในการเข้าภาคีในอนุสัญญา สหประชาชาติ เสนอต่อ สำนักงานป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ , 2551
  • บรรเจิด สิงคะเนติ โครงการศึกษาวิจัยเรื่อง การใช้สิทธิทางศาลของบุคคลซึ่งถูกละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพตาม รัฐธรรมนูญมาตรา 28 ในกรณีที่ศาลมีคำพิพากษาถึงที่สุดแล้ว เสนอต่อสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, เมษายน 2551
  • บรรเจิด สิงคะเนติ และคณะ, การสร้างความรู้ ความเข้าใจและพัฒนากระบวนการสรรหาสมาชิกสภาที่ปรึกษา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, สำนักงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, ตุลาคม 2551
  • บรรเจิด สิงคะเนติ และคณะ โครงการศึกษาวิจัยเรื่องเสริมสร้างประสิทธิภาพการดำเนินการและประเมินผลการสรรหา สมาชิก สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ชุดที่ 3 เสนอต่อ สำนักงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ โดยสถาบันวิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2551
  • บรรเจิด สิงคะเนติ. ผู้วิจัยร่วม, เรื่อง“โครงการศึกษาวิจัยรูปแบบและแนวทางการกากับดูแลองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น: กรณีศึกษาเปรียบเทียบแนวทางของต่างประเทศ” เสนอต่อ กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น, ธันวาคม 2551, จำนวน หน้า 421 หน้า (ระยะเวลาในการวิจัย 1 ปี)
  • บรรเจิด สิงคะเนติ. ผู้วิจัยร่วม “โครงการศึกษาวิจัยร่างระเบียบคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติว่าด้วยการเสนอ เรื่องต่อศาลและการฟ้องคดีต่อศาล พ.ศ. ….” เสนอต่อสำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ, 2553
  • บรรเจิด สิงคะเนติ และคณะ โครงการศึกษาวิจัย เรื่อง การจัดตั้งองค์กรด้านการคุ้มครองผู้บริโภคในกิจการ โทรคมนาคมและการยกร่างระเบียบคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ว่าด้วยคณะอนุกรรมการ คุ้มครองผู้บริโภคในกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. ….. เสนอต่อ สถาบันคุ้มครองผู้บริโภคในกิจการโทรคมนาคม สำนักงานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ, กรกฎาคม 2553
  • บรรเจิด สิงคะเนติ. ผู้วิจัยร่วม “ศึกษารูปแบบการทุจริตเชิงนโยบายทุจริต”, เสนอต่อสำนักงานป้องกันและ ปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ, กรกฎาคม 2553
  • บรรเจิด สิงคะเนติ และคณะ “การตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่กระทบต่อสิทธิ มนุษยชน” เสนอ สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, มิถุนายน 2553
  • บรรเจิด สิงคะเนติ และคณะ “โครงการศึกษาการบังคับใช้กฎหมายตรวจเงินแผ่นดิน” เสนอ สำนักงานการตรวจเงิน แผ่นดิน, สิงหาคม 2554
  • บรรเจิด สิงคะเนติ และคณะ “การศึกษาวิเคราะห์ระบบการแก้ไขปัญหาการขัดกันในเรื่องอำนาจศาลและคำวินิจฉัยชี้ ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาลของไทย ในช่วง พ.ศ. 2544 – 2553” เสนอ สำนักงานศาลปกครอง, มกราคม 2555
  • บรรเจิด สิงคะเนติ และคณะ “การนำระบบไตรีสวนมำใช้ในกระบวนกำรยุติธรรมทางอาญา : ศึกษาเปรียบเทียบนานา -ประเทศ” เสนอ สำนักงานอัยการสูงสุด, พฤษภาคม 2555
  • บรรเจิด สิงคะเนติ และคณะ “หลักความได้สัดส่วน (Principle of Proportionality) ในการตรวจสอบขอบเขตอำนาจรัฐ ตามมาตรา 29 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาษาจักรไทย พุทธศักราช 2550” เสนอสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, มีนาคม 2557 (งานวิจัยในรอบ 5 ปี)
  • บรรเจิด สิงคะเนติ และคณะ “การศึกษาวิเคราะห์ปัญหาและข้อเสนอแนะในกระบวนการเลือกสมาชิกสภาที่ปรึกษา- เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ในด้านข้อกฎหมาย” เสนอ สำนักงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, ตุลาคม 2556
  • บรรเจิด สิงคะเนติ และคณะ “สถานภาพ บทบาท ภารกิจ อำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบตามกฎหมายขององค์กร สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ” เสนอ สำนักงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, มีนาคม 2557 (งานวิจัยในรอบ 5 ปี)
  • บรรเจิด สิงคะเนติ และคณะ “ผังเมืองกับการคุ้มครองสิทธิชุมชนและสิทธิการมีส่วนร่วมของประชาชน” เสนอ สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ, สิงหาคม 2557 (งานวิจัยในรอบ 5 ปี)
  • บรรเจิด สิงคะเนติ และคณะ “โครงการปฏิรูปกฎหมายเพื่อป้องกันการทุจริตและการพัฒนากระบวนการยุติธรรมบน พื้นฐานของหลักธรรมาภิบาล” เสนอสำนักงบประมาณ, กันยายน 2559 (งานวิจัยในรอบ 5 ปี)
  • บรรเจิด สิงคะเนติ และคณะ “การประเมินองค์กรพิทักษ์ระบบคุณธรรมในราชการพลเรือนสามัญ” เสนอสำนัก คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน, พฤศจิกายน 2559 (งานวิจัยในรอบ 5 ปี)

หนังสือ

  • บรรเจิด สิงคะเนติ. หลักพื้นฐานทางสิทธิ เสรีภาพ และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ตามรัฐธรรมนูญใหม่, กรุงเทพฯ : วิญญูชน 2543.
  • บรรเจิด สิงคะเนติ. หลักความเสมอภาค โครงการเฉลิมพระเกียรติ สารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร ไทย พุทธศักราช 2540, สถาบันพระปกเกล้า พ.ศ. 2543.
  • บรรเจิด สิงคะเนติ. หลักพื้นฐานของสิทธิเสรีภาพและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ โครงการเฉลิมพระเกียรติ สารานุกรม รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 สถาบันพระปกเกล้า, พ.ศ. 2543.
  • บรรเจิด สิงคะเนติ. ดร.ชาญชัย แสวงศักดิ์, ดร.บรรเจิด สิงคะเนติ, นายสมศักดิ์ นวตระกูลพิสุทธิ์, “การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของทางราชการกับข้อพิจารณาทางกฎหมายปกครอง” กรุงเทพฯ : นิติธรรม 2543.
  • บรรเจิด สิงคะเนติ. ศาลรัฐธรรมนูญ โครงการเฉลิมพระเกียรติ สารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540, สถาบันพระปกเกล้า, พ.ศ. 2544.
  • บรรเจิด สิงคะเนติ. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับศาลรัฐธรรมนูญ, กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์วิญญูชน, 2544.
  • ผศ.ดร.อุดม รัฐอมฤต, รศ.นพนิธิ สุริยะ, ดร. บรรเจิด สิงคะเนติ, การอ้างศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์หรือใช้สิทธิ และเสรีภาพของบุคคลตามมาตรา 28 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540, สำนักงาน ศาลรัฐธรรมนูญ, ตุลาคม 2544.
  • บรรเจิด สิงคะเนติ. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคดีปกครองเยอรมัน โครงการตำราและวารสารนิติศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, พ.ศ. 2547
  • บรรเจิด สิงคะเนติ. รวมบทวิเคราะห์คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญและคำสั่งศาลปกครอง, สำนักพิมพ์วิญญูชน: กรุงเทพฯ, พ.ศ. 2547,
  • บรรเจิด สิงคะเนติ. การคุ้มครองชั่วคราวและการบังคับให้เป็นไปตามคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ, สำนักงาน ศาลรัฐธรรมนูญ, 2548
  • บรรเจิด สิงคะเนติ. หลักกฎหมายเกี่ยวกับการควบคุมฝ่ายปกครอง, กรุงเทพฯ : วิญญูชน 2548
  • บรรเจิด สิงคะเนติ. หลักพื้นฐานทางสิทธิ เสรีภาพ และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ตามรัฐธรรมนูญใหม่, กรุงเทพฯ : วิญญูชน 2548 (พิมพ์ครั้งที่ 2)
  • บรรเจิด สิงคะเนติ. หลักกฎหมายเกี่ยวกับการควบคุมฝ่ายปกครอง, กรุงเทพฯ : วิญญูชน 2548 (พิมพ์ครั้งที่ 2)
  • บรรเจิด สิงคะเนติ. การสร้างความรู้ ความเข้าใจและพัฒนากระบวนการสรรหาสมาชิกสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ, สำนักงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, ตุลาคม 2551
  • บรรเจิด สิงคะเนติ. การใช้สิทธิทางศาลของบุคคลซึ่งถูกละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญมาตรา 28 ในกรณีที่ ศาลมีคำพิพากษาถึงที่สุดแล้ว, สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, เมษายน 2551
  • บรรเจิด สิงคะเนติ. หลักพื้นฐานทางสิทธิ เสรีภาพ และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ตามรัฐธรรมนูญใหม่, กรุงเทพฯ : วิญญูชน 2552 (พิมพ์ครั้งที่ 3)
  • บรรเจิด สิงคะเนติ. หลักกฎหมายเกี่ยวกับการควบคุมฝ่ายปกครอง, กรุงเทพฯ : วิญญูชน 2551 (พิมพ์ครั้งที่ 3)
  • บรรเจิด สิงคะเนติ. หลักกฎหมายเกี่ยวกับการควบคุมฝ่ายปกครอง, กรุงเทพฯ : วิญญูชน 2554 (พิมพ์ครั้งที่ 4)

การติดต่อ

คณะนิติศาสตร์
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
ชั้น 5 อาคารบุญชนะ อัตถากร 148 ถนนเสรีไทย
แขวงคลองจั่น เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240

E-mail :  Banjerd.s@nida.ac.th

โทรศัพท์ :  0-2727-3709

โทรสาร :  0-2374-4731