อาจารย์ ดร.อัญธิกา ณ พิบูลย์

Dr. Auntika Na Pibul

อาจารย์ประจำคณะนิติศาสตร์ และบรรณาธิการวารสารกฎหมายนิติพัฒน์ นิด้า

สาขาที่มีความเชี่ยวชาญ

  • กฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
  • กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ (Cloud Computing, Big Data, Cyber Security, Internet of Things, Artificial Intelligence, Smart Cities)
  • กฎหมายอาญา
  • กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา

 

การศึกษา

The University of Strathclyde (Glassgow, United Kingdom)

  • Ph.D. in Law, 2018
    • ดุษฎีนิพนธ์เรื่อง: How is User Trust in Cloud Computing Affected by Legal Problems with Data Protection under the GDPR in Cloud Computing and How Can User Trust in Cloud Computing be Built?

The University of Edinburgh (Edinburgh, United Kingdom)

  • LLM in Innovation, Technology and the Law, 2013
    • วิทยานิพนธ์เรื่อง: The Legal Issues with Data Protection Concerning with
      Cross-Border Transfer of the Personal Data of UK Cloud Customers

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  • นิติศาสตรมหาบัณฑิต สาขากฎหมายอาญา, 2009
    • วิทยานิพนธ์เรื่อง: ปัญหาและอุปสรรคในการบังคับใช้พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำ  ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 2550
  • นิติศาสตรบัณฑิต เกียรตินิยมอันดับ 2 สาขากฎหมายอาญา, 2005

ทุนที่เคยได้รับ

  • นักเรียนทุนเรียนดีสาขามนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) (กำหนดให้ไปศึกษาต่อปริญญาโท-เอก ด้านกฎหมายเทคโนโลยีในปี พ.ศ. 2555 ณ ประเทศสหราชอาณาจักร)

ประวัติการทำงาน

พ.ศ. 2563 – ปัจจุบัน

  • ผู้อำนวยการหลักสูตรเทคนิคการบริหารจัดการข้อมูลส่วนบุคคลตามกฎหมายไทยและมาตรฐานยุโรป
    (MUM –  Making an Ultimate Goal of Data Management)  คณะนิติศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

พ.ศ. 2563 – 2566

  • รองคณบดีฝ่ายบริหาร คณะนิติศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

พ.ศ. 2563 – 2564

  • บรรณาธิการวารสารกฎหมาย นิติพัฒน์ นิด้า คณะนิติศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

พ.ศ. 2560 – 2562

  • กองบรรณาธิการวารสาร นิติพัฒน์ นิด้า คณะนิติศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

ประวัติการเป็นผู้ทรงคุณวุฒิและอนุกรรมการต่าง ๆ

พ.ศ. 2565 – ปัจจุบัน

  • คณะอนุกรรมการด้านกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล  สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)

พ.ศ. 2563 – ปัจจุบัน

  • ผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของกลุ่มตลาดหลักทรัพย์ฯ  ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

พ.ศ. 2561 – ปัจจุบัน

  • ผู้ทรงคุณวุฒิด้านกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลยุโรป (GDPR) การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย         
    ผลงานขณะดำรงตำแหน่งฯ ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2561 จนถึงปัจจุบันโดยสังเขปมีดังนี้

    1. การฝึกอบรมบุคลากรของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
    • ครั้งที่ 1 ภายใต้หัวข้อ “กฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ของสหภาพยุโรป” ในการประชุมเชิงปฏิบัติการของผู้อำนวยการ และ รองผู้อำนวยการสำนักงานสาขาต่างประเทศ, วันที่ 20 กันยายน 2561 ณ โรงแรมโซฟิเทล สุขุมวิท กรุงเทพมหานคร
    • ครั้งที่ 2 ภายใต้หัวข้อ “แนวปฏิบัติของ ททท. ที่เกี่ยวข้องกับ กฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของสหภาพยุโรป” ในการประชุมเชิง ปฏิบัติการกลยุทธ์การจัดการความสัมพันธ์กับลูกค้า (Proactive Customer Relationship Management), วันที่ 24 กรกฎาคม 2562 ณ โรงแรม อวานี เอเทรียม กรุงเทพมหานคร
    • ครั้งที่ 3 ภายใต้หัวข้อ “แนวทางการดำเนินการตามหลักเกณฑ์ ของกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของสหภาพยุโรป (GDPR) และ การเตรียมความพร้อมไปสู่การปฏิบัติตามพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562” ในการประชุม วันที่ 20 สิงหาคม 2562 ณ โรงแรมโกลเด้น ทิวลิป ซอฟเฟอริน กรุงเทพมหานคร
    • ครั้งที่ 4-6 อบรมพนักงาน ททท ทั้งองค์กรในส่วนของการเตรียมความพร้อมในการบังคับใช้ พรบ คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 ในวันที่ 13 มกราคม, 23 มีนาคม และ 11 พฤษภาคม 2563 ณ ตึกสำนักงานใหญ่ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
    1. การให้คำปรึกษาแก่บุคลากรและหน่วยงานภายใน ททท. ในการดำเนินการเพื่อให้สอดคล้องกับกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของสหภาพยุโรปในประเด็นต่าง ๆ ดังนี้
    • ให้คำปรึกษาและจัดทำ Privacy Notice และ Consent form ตาม วัตถุประสงค์การดำเนินงานในแต่ละหน่วยงาน เช่น การเก็บข้อมูล ภายในงาน Road Show และ Trade Show การถ่ายภาพ การเก็บข้อมูล และบันทึกเสียงของผู้ร้องเรียน และการเก็บข้อมูลสมาชิกอนุสาร อ.ส.ท.
      เป็นต้น
    • ให้คำปรึกษาและข้อเสนอแนะในการจัดทำ Cookies Policy, Standard Contractual Clauses, Data Sharing Agreement, Data Transfer Agreement และ Binding Corporate Rules
    • ให้ความเห็นในการแต่งตั้ง Data Protection Officer (DPO)
    • ให้คำแนะนำในเรื่องของการนำ Security Measures ต่าง ๆ มาใช้ให้ เหมาะสมกับกิจกรรมต่าง ๆ ของ ททท.
    • ให้คำปรึกษาว่าด้วยเรื่องการโอนข้อมูลต่อให้กับหน่วยงานของรัฐ
    1. การเข้าประชุมในฐานะที่ปรึกษาด้านกฎหมายของ ททท.
    • การประชุมระหว่างการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยและบริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) เมื่อวันที่ 6 กันยายน 2562 เพื่อปรึกษา และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเรื่องการดำเนินงานของการบินไทยตามกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของยุโรป (GDPR) และการดำเนินงานของ DPO
    • การประชุมและเข้าหารือกับ EU Supervisory Authority เกี่ยวกับการแต่งตั้ง  EU representative และกระบวนการการแจ้งเตือนแก่ EU Supervisory Authority เมื่อมีการรั่วไหลของข้อมูล และการปฏิบัติตามกฎหมายและข้อคับภายในของเยอรมัน วันที่ 14 ตุลาคม ณ Federal Commissioner for Data Protection and Freedom of Information เมืองบอนด์ ประเทศเยอรมัน
    • การประชุมและเข้าหารือกับ UK Information Commissioner Officer เกี่ยวกับการจดทะเบียน DPO , Data Controller ตลอดจนรายละเอียดอื่น ๆ เกี่ยวกับการปฏิบัติให้เป็นตามกฎหมาย ระเบียบและข้อบังคับของ UK  วันที่ 20 ตุลาคม 2562 ณ กรุงลอนดอน ประเทศสหราชอาณาจักร
    1. งานด้านอื่น ๆ
    • จัดทำ Data Mapping, data flow, Data Protection Impact Assessment ของแต่ละหน่วยงาน
    • จัดทำคู่มือฉบับย่อ เรื่อง “หลักเกณฑ์ในการ คุ้มครอง ข้อมูลส่วนบุคคลตามกฎหมายคุ้มครองข้อมูล ส่วนบุคคลของยุโรป General Data Protection Regulation (GDPR) ในบริบทของการ ท่องเที่ยงแห่งประเทศไทย” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ ความรู้ เบื้องต้นเกี่ยวกับหลักเกณฑ์การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของ GDPR แก่บุคลากรของ ททท. เพื่อให้บุคลากรของ ททท. ตระหนักถึง ความสำคัญของการปฏิบัติตาม GDPR และเพื่อเป็นแนวทาง ในการปฏิบัติงานของ ททท. ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ของ GDPR
    • จัดทำโปสเตอร์อินโฟกราฟิกให้ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหลักเกณฑ์การคุ้ม ครองข้อมูลส่วนบุคคลของ GDPR และแนวทางในการปฏิบัติงานของ ททท. เพื่อใช้ประชาสัมพันธ์และให้ความรู้ภายในองค์กร
    • การจัดทำเอกสารสรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับสาระสำคัญของพระราชบัญญัติ คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) เปรียบเทียบกับ GDPR ของสหภาพยุโรป
    • การจัดทำเอกสารสรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับสาระสำคัญของพระราชบัญญัติ ว่าด้วยการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (APPI) ประเทศญี่ปุ่น
    • จัดทำเว็ปไซด์เผยแพร่ข้อมูลความรู้เกี่ยวกับกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วน บุคคลของประเทศที่เกี่ยวข้องและวิธีการปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎหมายดังกล่าว

ประวัติการเป็นวิทยากร

พ.ศ. 2566

  •  วิทยากร – อบรมหลักสูตรเทคนิคการบริหารจัดการข้อมูลส่วนบุคคลตามกฎหมายไทยและมาตรฐานยุโรปสำหรับผู้ปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัย รุ่นที่ 1  (MUM for U)
    วันพฤหัสบดีที่ 13 กรกฎาคม 2566, เวลา 9.00 – 16.00 น.
    ห้องพัชราภา โรงแรมปริ้น พาเลช
  • วิทยากร – อบรมหลักสูตรฝึกอบรมนักบริการการแพทย์และสาธารณสุขระดับสูง รุ่นที่ 39 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
    หัวข้อ “กฎหมายดิจิทัล
    วันที่ 19 มิถุนายน 2566, เวลา 13.30 – 16.30 น.
    วิทยาลัยนักบริหารสาธารณสุข (หลวงพ่อเปิ่น) จังหวัดนครปฐม
  • วิทยากร – อบรมผู้บริหาร บริษัท วิสแพค จำกัด (สำนักงานใหญ่)
    หัวข้อ “ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมุลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA)
    วันที่ 16 พฤษภาคม 2566, เวลา 13.00 – 16.00 น.
    ห้องประชุมบอร์ด อาคารสำนักงาน บริษัท วิสแพค จำกัด (สำนักงานใหญ่)
  • วิทยากร – อบรมบุคลากร บริษัท อะไลด แมนู แฟคเจอริ่ง เซอวิส จำกัด
    หัวข้อ “สาระสำคัญของกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA)
    วันที่ 17 มีนาคม 2566, เวลา 8.00 – 12.00 น.
    ห้องประชุม A1 บริษัท อะไลด แมนู แฟคเจอริ่ง เซอวิส จำกัด

พ.ศ. 2565

  •  วิทยากร – อบรมบุคลากร คณะบริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
    หัวข้อ “workshop: การปรับใช้พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลในบริบทของคณะบริหารธุรกิจ นิด้า
    วันอังคารที่ 29 พฤศจิกายน 2565, เวลา 9.00 – 16.00 น.
    ชั้น 10 อาคารบุญชนะ อัตถากร คณะบริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
  • วิทยากร – อบรมบุคลากร คณะบริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
    หัวข้อ “สาระสำคัญของพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
    วันที่ 4 ตุลาคม 2565, เวลา 9.00 – 12.00 น.
    ชั้น 10 อาคารบุญชนะ อัตถากร คณะบริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
  • วิทยากร – อบรมบุคลากร บริษัท ทเวนตี้โฟร์ช้อปปิ้ง จำกัด (เครือบริษัท ซีพี ออลล์ จำกัด (มหาชน) )
    หัวข้อ “ปัญหาข้อขัดข้องและแนวทางในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นจากการปรับใช้หลักกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลในบริบทของบริษัท
    วันที่ 23 สิงหาคม 2565, เวลา 9.00 – 16.30 น.ผ่านโปรแกรม Microsoft Teams
  • วิทยากร – อบรมบุคลากร CP ALL PUBLIC COMPANY LIMITED
    หัวข้อ “การปรับใช้หลักกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลในบริบทของฝ่ายทรัพยากรบุคคล
    วันที่ 22 สิงหาคม 2565, เวลา 9.00 – 16.30 น. ผ่านโปรแกรม Microsoft Teams
  • วิทยากร – อบรมบุคลากร สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
    หัวข้อ “การปรับใช้หลักกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลในบริบทของนิด้า
    วันที่ 22 กรกฎาคม 2565, เวลา 13.00 – 16.00 น.
    อาคารนวมินทราธิราช สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
  • วิทยากร – อบรมผู้ประกอบการอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
     โครงการ Personal Data Protection กับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว”
    บรรยายหัวข้อ “หลักกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
    วันที่ 30 มิถุนายน 2565 เวลา 10.00 – 12.00 น. ผ่านโปรแกรม Zoom
    จัดโดย การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
  • วิทยากร – อบรมบุคลากร การกีฬาแห่งประเทศไทย (กกท.)
    หลักสูตร “พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลสำหรับบุคลากรทางกีฬา”
    หัวข้อ “การจัดการข้อมูลเบื้องต้นและการเตรียมเอกสารที่จำเป็น
    วันที่ 27 มิถุนายน 2565, เวลา 13.00 – 16.30 น.
    ห้องประชุม ชั้น 25 อาคารเฉลิมพระเกียรติ 7 รอบ พระชนมพรรษา การกีฬาแห่งประเทศไทย
  • วิทยากร – อบรมบุคลากร บริษัท ซังโกะ ไดคาซติ้ง (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน)
    หัวข้อ “สาระสำคัญและการปรับใช้พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562
    วันที่ 30 พฤษภาคม 2565, เวลา 9.00 – 16.00 น. ผ่านโปรแกรม Zoom
  • วิทยากร – อบรมหลักสูตรเทคนิคการบริหารจัดการข้อมูลส่วนบุคคลตามกฎหมาย ไทยและมาตรฐานยุโรป (MUM) รุ่น 3 : ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการปรับใช้กฎหมายและแนวทางแก้ไข
    วันที่ 17-18 มีนาคม 2565, เวลา 9.00 – 16.00 น.
    อาคารนวมินทราธิราช สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

พ.ศ. 2564

  • วิทยากร – อบรมบุคลากร บริษัท เคาน์เตอร์เซอร์วิส จำกัด
    หัวข้อ “หลักกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลและการปรับใช้กฎหมายในบริบทของ Counter Service 2
    วันที่ 5 ตุลาคม 2564, เวลา 9.00 – 16.30 น.
    ผ่านโปรแกรม Microsoft Teams
  • วิทยากร – อบรมบุคลากร บริษัท เคาน์เตอร์เซอร์วิส จำกัด
    หัวข้อ “หลักกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลและการปรับใช้กฎหมายในบริบทของ Counter Service 1
    วันที่ 28 กันยายน 2564, เวลา 9.00 – 16.30 น.
    ผ่านโปรแกรม Microsoft Teams
  • วิทยากร – สัมมนาระดมความเห็นสำหรับ
    “ผลการศึกษาการจัดทำแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลสำหรับหน่วยงานด้านการท่องเที่ยว”,
    ในวันพุธที่ 25 สิงหาคม 2564 เวลา 13.30 – 16.30 น. ผ่านโปรแกรม Zoom,
    จัดโดยสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI)
  • วิทยากร – สัมมนาระดมความเห็นสำหรับ
    “ผลการศึกษาการจัดทำแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลสำหรับหน่วยงานด้านการท่องเที่ยว”,
    ในวันจันทร์ที่ 2 สิงหาคม 2564 เวลา 9.00 – 12.00 น. ผ่านโปรแกรม Zoom,
    จัดโดยสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI)
  • วิทยากร – อบรมบุคลากร CP ALL PUBLIC COMPANY LIMITED
    “การปรับใช้หลักกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลตามกฎหมายไทยและมาตรฐานยุโรป”,
    ในวันพุธที่ 14 กรกฎาคม 2564 เวลา 9.00 – 16.30 น.ผ่านโปรแกรม Microsoft Teams
  • วิทยากร – อบรมบุคลากร KASIKORN Business Technology Group (KBTG)
    “หลักกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลตามกฎหมายไทยและมาตรฐานยุโรปและคดีที่เกี่ยวข้อง”,
    ในวันจันทร์ที่ 7 มิถุนายน 2564 เวลา 9.00 – 17.00 น. ผ่านโปรแกรม Microsoft Teams
  • วิทยากร – อบรมบุคลากร การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
    “แนวทางการปฏิบัติตามกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล”,
    ในวันที่ 4 และ 10 มิถุนายน 2564 เวลา 9.00 – 16.00 น. ผ่านโปรแกรม Zoom
  • วิทยากร – อบรมบุคลากร การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
    “แนวทางการปฏิบัติตามกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล”,
    ในวันที่ 13, 14, 17,18 และ 21 พฤษภาคม 2564 เวลา 9.00 – 16.00 น. ผ่านโปรแกรม Zoom
  • วิทยากร – อบรมหลักสูตรเทคนิคการบริหารจัดการข้อมูลส่วนบุคคลตามกฎหมาย ไทยและมาตรฐานยุโรป (MUM) รุ่น 2
    วันที่ 17-19 กุมภาพันธ์ 2564, เวลา 9.00 – 16.00 น.  โรงแรม ฮิลตัล สุขุมวิท กรุงเทพฯ
  • วิทยากรและที่ปรึกษาด้านกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล โรงพยาบาลธนบุรี

พ.ศ. 2563

  • วิทยากร – อบรมบุคลากร บริษัท ปตท จำกัด (มหาชน)
    หัวข้อ “PDPA IN PRACTICE เตรียมความพร้อมเพื่อรองรับกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลที่จะมาถึง พร้อมแนวทางการปรับใช้ในระดับองค์กร”ในงาน PTT DIGITAL DAY 2020 “HARNESSING THE POWER OF DATA: HOW CAN WE TURN THEM INTO BUSINESSES” เปิดมุมมองอนาคตทางธุรกิจด้วยพลังของข้อมูลพร้อม USE CASE ที่ใช้จริงในธุรกิจ
    ในวันที่ 18 พฤศจิกายน 2563, สำนักงานใหญ่ บริษัท ปตท จำกัด (มหาชน)
  • วิทยากร – อบรมบุคลากร กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์
    หัวข้อ “พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562: กระบวนการและแนวปฏิบัติตามกฎหมาย”
    ในวันที่ 7 พฤศจิกายน 2563, โรงแรมเซ็นทรา บาย เซ็นทารา ชะอำ บีช รีสอร์ท หัวหิน
  • วิทยากร – อบรมบุคลากร สำนักงานปลัด กระทรวงพาณิชย์
    หัวข้อ “หลักกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลตามกฎหมายไทยและ มาตรฐานยุโรปและคดีที่เกี่ยวข้อง”
    หัวข้อ “การปรับใช้หลักกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลในบริบทของ กระทรวงพาณิชย์”
    ในวันที่ 29 กันยายน 2563, ห้องฉลาดลบเลอสรรค์ ชั้น 4 สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ กระทรวงพาณิชย์
  • วิทยากร – อมรมบุคลากร ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์
    หัวข้อ “หลักกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลตามกฎหมายไทยและ มาตรฐานยุโรป”
    ในวันที่ 23 กันยายน 2563, ห้องประชุมจำเนียรสาร ชั้น 24 อาคารทาวเวอร์ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ สำนักงานใหญ่
  • วิทยากร – อบรมบุคลากร กระทรวงพาณิชย์ ในงาน ICT Awareness Day 2020
    หัวข้อ “พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 และกรณีศึกษาที่เกี่ยวข้อง”
    ในวันที่ 18 สิงหาคม 2563, ห้องฉลาดลบเลอสรรค์ ชั้น 4 สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ กระทรวงพาณิชย์
  • วิทยากรและที่ปรึกษาด้านกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล บริษัท กสิกร ไลน์ จำกัด
  • วิทยากร – อบรมบุคลากร นิคมอุตสาหกรรมไฮเทค
    หัวข้อ “การปฏิบัติตามพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562”
    ในวันที่ 4 มีนาคม 2563, ณ ชมรมบริหารงานบุคคลไฮเทค,นิคมอุตสาหกรรมไฮเทค, อยุธยา

พ.ศ. 2562

  • วิทยากร – อบรมบุคลากรฝ่ายกฎหมาย PWC
    หัวข้อ “หลักกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลตามกฎหมายไทยและ General Data Protection Regulation”
    ในวันที่ 9 ธันวาคม 2562, ณ PricewaterhouseCoopers Legal & Tax Consultants Ltd (PWC)
  • วิทยากร – อบรมบุคลากร สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
    หัวข้อ “เตรียมพร้อมองค์กรรับมือ พรบ คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562”
    ในวันที่ 22 พฤศจิกายน 2562 ณ. อาคารสยามบรมราชกุมารี ชั้น 7 สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
  • วิทยากร – อบรมบุคลากร ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
    หัวข้อ “กฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล: เรื่องใกล้ตัวที่สำคัญ”
    ในวันที่ 25 กันยายน 2562 ณ. ห้องประชุม A505 Theatre ชั้น 5 อาคาร A ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
  • คณะทำงานจัดทำร่างอนุบัญญัติกำหนดมาตรการห้ามขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ โดยผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์หรือเครือข่ายคอมพิวเตอร์

ผลงานทางวิชาการ

บทความวิชาการ

พ.ศ. 2561

  • อัญธิกา ณ พิบูลย์, ปัญหาในการบังคับใช้สิทธิที่จะลบข้อมูลส่วนบุคคลในโลกออนไลน์: ศึกษากรณีกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของยุโรป วารสารนิติพัฒน์ นิด้า. ปี 2561. ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม 2561)

งานวิจัย

พ.ศ. 2566

  • อัญธิกา ณ พิบูลย์, การบริหารจัดการความเสี่ยงด้านการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลตามหลักกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของสหภาพยุโรปและไทยในบริบทของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย, สนับสนุนโดยการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย, 2566
  • อัญธิกา ณ พิบูลย์, ความสัมพันธ์ระหว่างแนวคิดเรื่องความปลอดภัยไซเบอร์และหลักกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล, วารสารกฎหมาย นิติพัฒน์ นิด้า ฉบับที่ 1 ปี 2566 (มกราคม-มิถุนายน 2566)

พ.ศ. 2565

  • อัญธิกา ณ พิบูลย์, แนวทางการปฏิบัติตามกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของประเทศในทวีปยุโรปสำหรับสำนักงานสาขาต่างประเทศของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยสนับสนุนโดยการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย, 2565

พ.ศ. 2564

  • อัญธิกา ณ พิบูลย์, รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์ของพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 (แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2560) , สนับสนุนโดย สถาบันพระปกเกล้า, 2564
  • อัญธิกา ณ พิบูลย์, การจัดทำแนวทางและศึกษาความเป็นไปได้ในทางกฎหมายการในการก่อตั้ง Cloud Data Center ในประเทศไทย, สนับสนุนโดย สภาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งประเทศไทย, 2564
  • อัญธิกา ณ พิบูลย์, ความท้าทายของกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลในบริบทของ Data Profiling, การประชุมวิชาการระดับชาติในวันคล้ายวันสถาปนา ครบรอบ 55 ปี, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ประจำปี 2564, 1 เมษายน 2564

พ.ศ. 2563

  • อัญธิกา ณ พิบูลย์, ปัญหาและอุปสรรคในการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลเพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของสหภาพยุโรป General Data Protection Regulation (GDPR) ในบริบทของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย, สนับสนุนโดยการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย, 2563
  • อัญธิกา ณ พิบูลย์, ความท้าทายทางกฎหมายในการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ในบริบทของ เมืองอัจฉริยะ (Smart Cities), วารสารบัณฑิตศึกษา คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 (เมษายน-มิถุนายน 2563).
  • Auntika Na Pibul, The Legal Challenges in the Context of the Internet of Things: Studying the Issue of What is Personal Data under the Personal Data Protection Law, the 9th ICADA 2020, July 2020.
  • อัญธิกา ณ พิบูลย์, จุดจบของสิทธิส่วนบุคคลกับความเฟื่องฟูของ Big Data : ข้อจำกัดของกฎหมายคุ้มครองข้อมูลสวนบุคคล, การประชุมวิชาการระดับชาติในวันคล้ายวันสถาปนา ครบรอบ 54 ปี สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ประจำปี 2563, 1 เมษายน 2563.

พ.ศ. 2562

  • อัญธิกา ณ พิบูลย์, บทบาทของเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ในการพัฒนากระบวนการยุติธรรม ทางอาญาของประเทศไทย: ศึกษาปัญหาทางกฎหมายและผลกระทบที่เกิดขึ้น,การประชุมวิชาการระดับชาติในวันคล้ายวันสถาปนา ครบรอบ 53 ปี สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ประจำปี 2562, 29 มีนาคม 2562.
  • Auntika Na Pibul, The Problems with the Enforcement of the Thai Data Protection Law in the Context of Cloud Computing: The Obligations and the Liability of Cloud Service Providers, the 8th ICADA 2019, 22-24 May 2019, สนับสนุนโดยคณะนิติศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

พ.ศ. 2561

  • Auntika Na Pibul, The Problem with User Consent in the Context of Cloud Computing: A Comparative Study of Thai Data Privacy Law and EU Data Protection Law, the 7th ICADA 2018, 31 May – 2 June 2018.

พ.ศ. 2556

  • อัญธิกา ณ พิบูลย์, Universal Service Obligation ตามกฎหมายโทรคมนาคม ในฐานะเครื่องมือในการขจัดความเหลื่อมล้ำในสังคม วารสารพัฒนบริหารศาสตร์ NIDA Development Journal. ปี 2556. ฉบับที่ 1 (มิถุนายน 2556)

พ.ศ. 2554

  • อัญธิกา ณ พิบูลย์, กระบวนยุติธรรมทางอาญากับการจัดการภัยไซเบอร์ (ปัญญาสมาพันธ์เพื่อการวิจัยความเห็นสาธารณะแห่งประเทศไทย) (The Wisdom Society for Public Opinion Research of Thailand), สนับสนุนโดย ปัญญาสมาพันธ์เพื่อการวิจัยความเห็นสาธารณะแห่งประเทศไทย, 2554.

งานอื่น ๆ

พ.ศ. 2565

  • อัญธิกา ณ พิบูลย์, คู่มือการปฏิบัติตามหลักกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของประเทศเยอรมัน, สวีเดน, อังกฤษ, ฝรั่งเศสและอิตาลี ในบริบทของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย, สนับสนุนโดยการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย

พ.ศ. 2563

  • อัญธิกา ณ พิบูลย์, คู่มือการปฏิบัติตามกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ในบริบทของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย, สนับสนุนโดยการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย

พ.ศ. 2561

  • อัญธิกา ณ พิบูลย์, Book Review ‘Asian Data Privacy Laws: Trade and Human Rights Perspectives by Graham Greenleaf (OUP, 2014) วารสารนิติพัฒน์ นิด้า, 1/2561 (ฉบับ มกราคม 2561)

การติดต่อ

คณะนิติศาสตร์
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
ชั้น 5 อาคารบุญชนะ อัตถากร 148 ถนนเสรีไทย
แขวงคลองจั่น เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240

E-mail: Auntika.n@nida.ac.th