ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธีทัต ชวิศจินดา

Asst. Prof. Dr. Thitat Chavisschinda

รองผู้อำนวยการสำนักวิจัย และ ผู้อำนวยการศูนย์กฏหมายเพื่อการพัฒนา

สาขาที่มีความเชี่ยวชาญ

  • กฎหมาธุรกิจและการละเมิดทางธุรกิจ (Business Law and Business Torts)
  • กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ (International Business and Trade Law)
  • กฎหมายระหว่างประเทศและเอเชียเปรียบเทียบ (International and Asian Comparative Law)
  • นิติเศรษฐศาสตร์และเศรษฐศาสตร์พฤติกรรม (Behavioral Law and Economics)
  • กฎหมายกับเทคโนโลยี (Law and Technology)
  • สหวิทยาการนิติศาสตร์เพื่อการพัฒนา (Interdisciplinary Law for Development)

วิชาที่สอน

คณะนิติศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (พ.ศ. 2554 – ปัจจุบัน)

หลักสูตรนิติศาสตรดุษฎีบัณฑิต

  • วิชา กฎหมายกับการพัฒนาชั้นสูง
  • วิชา สัมมนาการให้เหตุผลทางกฎหมายเชิงวิเคราะห์
  • วิชา สัมมนาปัญหากฎหมายกับการพัฒนา

หลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต

  • วิชา สังคมวิทยากฎหมายกับการพัฒนา
  • วิชา ภาษาอังกฤษเพื่อการศึกษากฎหมาย
  • วิชา ระเบียบวิธีวิจัยทางนิติศาสตร์
  • วิชา กฎหมายแพ่งลักษณะสัญญาและลักษณะละเมิดชั้นสูง
  • วิชา กฎหมายป้องกันการผูกขาดและการแข่งขันทางการค้า
  • วิชา การระงับข้อพิพาทและการอนุญาโตตุลาการ
  • วิชา กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ

หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชากฎหมายและการจัดการ

  • วิชา กฎหมายกับการพัฒนา

อาจารย์ผู้บรรยาย/วิทยากรรับเชิญ

  • สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมชาติ หัวข้อ กฎหมายกับเทคโนโลยี (ภาคภาษาอังกฤษ)
  • มหาวิทยาลัยแห่งชาติเจิ้งจื้อ (National Chengchi University College of Law, Taipei, Taiwan) หัวข้อ กฎหมายไทยและปัญหากฎหมายธุรกิจไทยร่วมสมัยสำหรับนักลงทุนต่างชาติ
  • หลักสูตร ผู้บริหารกระบวนการยุติธรรมระดับสูง (บยส.) รุ่นที่ 28 สถานบันพัฒนาข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม (วิทยากรถอดบทเรียน)
  • หลักสูตรการบริหารงานยุติธรรมระดับสูง (ยธส.) รุ่นที่ 14-15 สำนักกิจการยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม (วิทยากรถอดบทเรียน)
  • หลักสูตรการพัฒนานักกฎหมายท้องถิ่นระดับกลาง สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย หัวข้อ การแทรกแซงของรัฐในระบบเศรษฐกิจ
  • หลักสูตรฝึกอบรม Fast Mini MBA for New Manager in the Age of VUGA ศูนย์เชี่ยวชาญการตลาดแห่งภูมิภาคเอเชีย (AMEC) คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ หัวข้อ กฎหมายธุรกิจเบื้องต้น
  • หลักสูตรฝึกอบรม บุคลกรด้านการท่องเที่ยวของประเทศไทย กรมการท่องเที่ยว กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา หัวข้อ Safety and security procedures
  • คณะการจัดการการท่องเที่ยว สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ วิชา การจัดการธุรกิจการขนส่ง (หลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ)
  • คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วิชา สัมมนาการเรียนนิติศาสตรดุษฎีบัณฑิต การวิจัยกฎหมายกับสังคม (หลักสูตรนิติศาสตรดุษฎีบัณฑิต)
  • คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วิชา นิติปรัชญา (หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต) วิชา การวิเคราะห์กฎหมายในเชิงเศรษฐศาสตร์และนัยต่อธุรกิจ (หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต)
  • คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิชา สัมมนาปัญหากฎหมายธุรกิจ (หลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต)
  • คณะสังคมศาสตร์ สาขาวิชานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิชา กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล (หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต)
  • คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ วิชา นิติปรัชญา และกฎหมายสิทธิมนุษยชน (หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต)
  • คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต) วิชา กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมือง และวิชา กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล

การศึกษา

2016   University of Washington, Seattle, U.S.A.

  • Ph.D. in Law

2012   University of Washington, Seattle, U.S.A.

  • Master of International and Asian Comparative

2010   University of Hamburg, Germany

  • European Master in Law and Economics

2008   มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

  • นิติศาสตรมหาบัณฑิต สาขากฎหมายระหว่างประเทศ

2002   มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

  • นิติศาสตรบัณฑิต

ประวัติการทำงาน

ตำแหน่งปัจจุบัน 

  • รองผู้อำนวยการสำนักวิจัย (กรกฎาคม 2567 – ปัจจุบัน)
  • ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประจำคณะนิติศาสตร์  สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
  • คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
  • ผู้อำนวยการศูนย์กฎหมายเพื่อการพัฒนา (ตุลาคม 2563 – ปัจจุบัน)

พ.ศ. 2554 – ปัจจุบัน

  • อาจารย์ประจำคณะนิติศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

ตุลาคม 2560 – กันยายน 2563

  • รองคณบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนา
  • คณะนิติศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

พ.ศ. 2549 – 2553

  •  ผู้ช่วยนักวิจัย และนักวิจัย

ทุนพัฒนาและการฝึกอบรม 

  • Data Protection Officer (DPO) Certification, University of Maastricht, The Netherlands, Brussel Campus | 20-24 Mar 2023
  • Regional Training Workshop on the Right to a Safe, Clean and Sustainable Environment in ASEAN, organized by RAOUL Wallenberg Institute of Human Rights and Humanitarian Law (RWI) | 20-22 September 2019
  • Asian Development Bank (ADB) Regional Capacity Technical Assistance, Strengthening the Capacity of Environmental and Climate Change Laws in Asia and the Pacific: Training and Roundtable for Environmental Law Champions, ADB in partnership with the University of Cebu College of Law, Cebu, The Philippines | 14-16 August 2019
  • ทุนพัฒนาฝึกอบรม โครงการเครือข่ายพัฒนาศักยภาพผู้นำการสร้างสุขภาวะ (คศน.) รุ่น 6  (Leadership Development Network for the New Health Movement) | 2560-2561
  • ทุนพัฒนาฝึกอบรม หลักสูตรการพัฒนาบุคลากรวิจัยเพื่อรองรับโครงการ Talent Mobility: อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว, ระหว่างวันที่ 1-11 พฤศจิกายน 2560
  • Workshop on Human Rights Research, organized by The RAOUL Wallenberg Institute of Human Rights and Humanitarian Law (RWI), as part of Swedish Development Cooperation, Jakarta, Indonesia | 5-7 September 2017
  • Regional Capacity Development Technical Assistance, Strengthening Capacity for Environmental Law in the Asia-Pacific: Developing Environmental Law Champions Train-The-Teachers Program, organized by Asian Development Bank, IUCN Academy of Environmental Law, and Chiangmai University Faculty of Law, Chiangmai, Thailand | 19-23 June 2017
  • The Regional Human Rights Research Initiative 2017, supported by The RAOUL Wallenberg Institute of Human Rights and Humanitarian Law (RWI) | 3-7 April 2017
  • The 2017 IGLP Asian Regional Workshop, Harvard’s Institute of Global Law & Policy (IGLP), Bangkok, Thailand | 8-11 January 2017
  • The 2013 Coase-Sandor Institute Summer School in Law and Economics: New Tools in Law and Economics, The University of Chicago Law School | Illinois | July 2013
  • ทุนเรียนดีมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย (ปริญญาโทและปริญญาเอก), สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (พ.ศ. 2555 – พ.ศ. 2559)

ผลงานทางวิชาการ

หนังสือ

  • ความเป็นส่วนตัวของข้อมูล: คู่มือสำหรับนักกฎหมายในยุคดิจิทัล. จัดพิมพ์โดย สมาคมนักกฎหมายสิทธิมนุษยชน. สิงหาคม 2567. 281 หน้า

งานวิจัย (Research) 

  • งานจ้างที่ปรึกษา โครงการสำรวจและประเมินผลกระทบที่เกิดจาการใช้บริการแพลตฟอร์มดิจิทัล สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอกนิกส์ของประเทศ, 2567. (นักวิจัย)
  • โครงการวิจัย การบริหารความเสี่ยงข้อมูลส่วนบุคคลสำหรับกลุ่มวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม, กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (กองทุน ววน.) : งบประมาณด้าน ววน. ประเภท Fundamental Fund ประจำปีงบประมาณ 2567. (หัวหน้าโครงการวิจัย)
  • โครงการวิจัย การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันทางธุรกิจโดยการบริหารจัดการทรัพย์สินทางปัญญากลุ่มธุรกิจการท่องเที่ยวและบริการในเขตพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจตะวันออก, กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (กองทุน ววน.) : งบประมาณด้าน ววน. ประเภท Fundamental Fund ประจำปีงบประมาณ 2567. (หัวหน้าโครงการวิจัย)
  • โครงการวิจัย การปรับใช้ปัญญาประดิษฐ์และกฎเกณฑ์ทางธุรกิจเพื่อเพิ่มมูลค่าโซ่อุปทานดิจิทัลกลุ่มผู้ประกอบการท้องถิ่นและชุมชนในธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอาหารในเขตพัฒนาการท่องเที่ยวคลัสเตอร์ชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก, กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (กองทุน ววน.) : งบประมาณด้าน ววน. ประเภท Fundamental Fund ประจำปีงบประมาณ 2566 . (หัวหน้าโครงการวิจัย)
  • งานจ้างที่ปรึกษาโครงการจัดทำข้อเสนอแนะแนวทางการกำกับดูแลบริการแพลตฟอร์มดิจิตัล (Digital Platform Governance). สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอกนิกส์ของประเทศ, 2565. (นักวิจัยอาวุโส)
  • งานจ้างที่ปรึกษาโครงการจัดทำร่างความตกลงการค้าเสรี เรื่องการจัดซื้อจัดจ้างโดยรัฐ (Government Procurement) เพื่อการเจรจาเข้าร่วมความตกลงที่ครอบคลุมและก้าวหน้าสาหรับหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก(Comprehensive and Progressive Agreement for Trans – Pacific Partnership: CPTPP). กรมบัญชีกลาง, (2565) (นักวิจัยร่วม)
  • งานจ้างที่ปรึกษา โครงการขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการระดับชาติว่าด้วยธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน กิจกรรมที่ 1: การจัดทำและวิพากษ์ร่างแผนปฏิบัติการระดับชาติว่าด้วยธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน ระยะที่ 2 (พ.ศ. 2566-2570) และการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการระดับชาติว่าด้วยธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน ระยะที่ 1 (พ.ศ. 2562-2565) (ระยะเต็มรอบ). กองสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม, 2564. (หัวหน้าโครงการ)
  • งานจ้างที่ปรึกษาโครงการวิจัย แนวทางการพัฒนาเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับ AI เพื่อรองรับการพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศ. สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอกนิกส์ของประเทศ, 2563. (ผู้บริหารโครงการ และผู้วิจัยร่วม)
  • งานจ้างที่ปรึกษาโครงการวิจัย ความโปร่งใสและความมีประสิทธิภาพของความร่วมมือระหว่างรัฐบาลและเอกชนในการบริหารจัดการข้อมูลผู้ได้รับบริการสาธารณสุขในสภาวะวิกฤติการแพร่ระบาดของโรคติดต่อ สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ, 2563. (ผู้วิจัยร่วม)
  • งานจ้างที่ปรึกษาโครงการวิจัย การพัฒนากรอบแนวทางในการกำกับดูแลการประกันคุณภาพภายนอกของการศึกษาข้ามพรมแดนในระดับอุดมศึกษา. สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์กรมหาชน), 2562. (หัวหน้าโครงการวิจัย)
  • งานจ้างที่ปรึกษาโครงการวิจัย การพัฒนาธรรมาภิบาลดิจิทัลเพื่อเพิ่มศักยภาพชุมชนและส่งเสริมบทบาทเครือข่ายประชารัฐสู่ธรรมาภิบาลการท่องเที่ยวในเขตพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจตะวันออก ภายใต้แผนบูรณาการ “การกระจายความเจริญสู่ภูมิภาคและการพัฒนาจังหวัด 4.0 ในเขตพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจตะวันออก. สำนักงานวิจัยแห่งชาติ ประจำปี 2562. (หัวหน้าโครงการวิจัย)
  • งานจ้างที่ปรึกษาโครงการการพัฒนาแอปพลิเคชั่นและระบบสำหรับรายงานและแจ้งเตือนข้อมูลคุณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภาพ. งบประมาณแผ่นดิน ประเภทบูรณาการ ประจำปีงบประมาณ 2562. (ผู้วิจัยร่วม)
  • โครงการวิจัย หลักความรับผิดชอบขององค์กรธุรกิจในการเคารพสิทธิมนุษยชนกับการตรวจสอบวิเคราะห์ด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน ตามหลักการชี้แนะขององค์การสหประชาชาติว่าด้วยธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน: การปฏิบัติตามกรอบการคุ้มครอง การเคารพ และการเยียวยา เสนอเพื่อพิจารณาการขอตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์, 2562. (หัวหน้าโครงการวิจัย)
  • โครงการวิจัย บทบาทและอำนาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในทศวรรษหน้ากับความเปลี่ยนแปลงของสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง. สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2560-2561. (ผู้วิจัยร่วม)
  • โครงการวิจัย บทบาทของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติกับการเยียวยาเหยื่อผู้ได้รับผลกระทบ จากการละเมิดสิทธิมนุษยชนภายใต้หลักการชี้แนะว่าด้วยธุรกิจและสิทธิมนุษยชนขององค์การสหประชาชาติ เสนอเพื่อพิจารณาการขอตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์, 2560. (ผู้วิจัยร่วม)
  • โครงการวิจัย ธรรมาภิบาลของนักลงทุนไทยในลุ่มแม่น้ำโขง: ความท้าทายในการประยุกต์ใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน เพื่อพิจารณาการขอตำแหน่งทางวิชาการ, 2560. (หัวหน้าโครงการวิจัย)
  • โครงการวิจัย ความเป็นไปได้ในแง่กฎหมายสำหรับประเทศไทยในการดำเนินโครงการโรงไฟฟ้านิวเคลียร์. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2552 (ผู้วิจัยร่วม)
  • โครงการวิจัย การศึกษาการบังคับใช้กฎหมายตรวจเงินแผ่นดิน. สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน, 2554. (ผู้วิจัยร่วม)
  • โครงการวิจัย การจัดตั้งองค์การอวกาศแห่งชาติ เสนอต่อกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร, 2551. (ผู้วิจัยร่วม)

บทความวิชาการ บทความในหนังสือ และการนำเสนอผลงาน

  • การผสานปัญญาประดิษฐ์และกฎเกณฑ์ทางธุรกิจเพื่อเพิ่มมูลค่าการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอาหาร. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. ปีที่ 18 ฉบับที่ 2 (2024): กรกฎาคม – ธันวาคม 2567. หน้า 1-41.
  • Chapter 4 ASEAN’s role in shaping the right to a safe, clean, healthy, and sustainable environment in Southeast Asia in Ituarte-Lima, C; Bernard, V; Paul, D; San, S; Aung, MM; Dany, C; Chavisschindha, T; Paramita, D; Aung, TM and Saenphit, N (2020) Prosperous and green in the Anthropocene: The human right to a healthy environment in Southeast Asia, Raoul Wallenberg Institute of Human Rights and Humanitarian Law, 2020.
  • Methodology for Research in International Law: Socio-legal research, Teaching and Researching International Law in Asia (TRILA) –Thailand Workshop, hosted by CIL-NUS and Law Chula, 3 Mar 2022.
  • กรอบกฎเกณฑ์การควบคุมปัญญาประดิษฐ์: ความท้าทายทางกฎหมายในอนาคตอันใกล (AI Regulatory Framework: Legal Challenge in the Near Future) ในรายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ประจําปี 2564, หน้า 844-870.
  • We are in the CLOUD: Socio-LegalTech and Business Lens towards Cybersecurity, Consumer Protection, and Competition Laws, สนับสนุนโดย ทุนรางวัลค้นคว้าในวิทยาการการพัฒนากรณีศึกษา สำนักวิจัย สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2563.
  • การตรวจสอบสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน: กรณีศึกษาแรงงานเคลื่อนย้ายถิ่นฐานในอุตสาหกรรมก่อสร้างในจังหวัดสงขลา. วารสารนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีที่ 40 ฉบับที่ 3 (กันยายน 2562), 554-572.
  • เรื่องเล่าจากเขื่อนไฟฟ้าพลังน้ำไซยะบุรี: หลักความรับผิดชอบต่อสังคมที่บังคับไม่ได้กับวิถีแห่งอาเซียนต่อสถาบันการเงิน.  วารสารนิติสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (CMU Journal of Law and Social Sciences), 12.1, หน้า 54-79.
  • บุคคลอิเล็กทรอนิกส์: นวัตกรรมทางกฎหมายว่าด้วยสภาพบุคคลของหุ่นยนต์อัจฉริยะ (Electronic Persons: Legal Innovation on Legal Personhood of Smart Robots) ในรายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติ เนื่องในโอกาสครบรอบปีที่ 53 แห่งการสถาปนาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ หัวข้อ “เปลี่ยนโฉมประเทศไทยให้ก้าวไกลอย่างมั่นคง” 29 มีนาคม 2563, หน้า 153-165.
  • Bittersweet Dispute: Business, Human Rights and the Sugarcane Plantation in Cambodia. NIDA International Conference for Case Studies on Development Administration 2018 (NIDA-ICCS), Bangkok: Thailand, 2018.
  • Seeking the Remedy for the Victims of Human Rights Abuses: An Analysis of the Effectiveness of NHRC of Thailand. The Southeast Asian Human Rights Studies Network (SEAHRN) Series, 2017.
  • Strategic Human Rights Litigation and Access to Justice: An Analysis of Koh Kong Sugar Plantation Case. The 5th of Human Rights Week under the theme “Human Rights on the Move,” organized by Thaksin University, Institute for Human Rights and Peace Studies (IHRP), Mahidol University, Amnesty International Thailand, Human Rights Lawyer Association, Labor Rights Promotion Network, and Community Resource Center Foundation. Thaksin University, Songkhla, Th8ailand, 21-31 March 2017.
  • Governance for Thai Investors in the Greater Mekong Sub-region: Challenges in Employing the Sufficiency Economy Philosophy for Sustainable Development Goals. In Proceedings of the NIDA Academic Forum: “Sufficiency Economy and Development Administration: From Philosophy to Practices, Bangkok, 2019, 960-979. Bangkok: National Institute of Development Administration, 2017.
  • Legitimacy of Non-Trade Issue: A Socio-Legal Approach to Pirate Fishing and Modern Slavery in the Thai Fishing Industry. The Inaugural Asian Law & Society Association Conference, “Law and Society in Asia: Defining and Advancing the Field,” 22-23 September 2016, Faculty of Law, National University of Singapore, Singapore.

ประวัติและผลงาน

งานเกี่ยวกับกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (บางส่วน)

  • อุปนายกและประธานฝ่ายวิชาการ สมาคมผู้ตรวจสอบและให้คำปรึกษาการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลไทย (Thai Personal Data Protection Auditors and Consultants  Association – TPDPA)
  • กรรมการสมาคมเจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (Data Protection Officer Association – DPOA)
  • เจ้าหน้าที่สอบ สาขาอาชีพนักจัดการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ระดับ 5-7 สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (TPQI)

วิทยากรบรรยายและฝึกอบรม หน่วยงานภายนอก

  • หลักสูตร เจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลภาคปฏิบัติ (DPO in Action) รุ่น 1- 10, PDPA Thailand
  • หลักสูตรฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ พรบ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลเพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล กรมควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ 2566
  • หัวข้อบรรยาย การคุ้มครองข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลตาม พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 กับ การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลตาม พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 ของหน่วยงานภาครัฐรุ่น 1-9 โดยสมาคมนักศึกษาเก่าสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ สมาคมนักศึกษาเก่าคณะนิติศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ร่วมกับ PDPA Thailand, สถาบันพัฒนาและทดสอบทักษะดิจิทัล (DDTI) และบริษัท ดิจิทัล บิสิเนส คอนซัลท์ จำกัด
  • หัวข้อบรรยาย ผู้ควบคุมข้อมูล ผู้ประมวลผลข้อมูล กับการธรรมาภิบาลข้อมูล (Data Controller, Data Processor and Data Governance Implication) Monthly D Digital Talk: PDPA โดย สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล (DEPA) | 7 กุมภาพันธ์ 2565
  • หลักสูตรฝึกอบรม ICDL Personal Data Protection Certificate Training Course: Train the Trainer รุ่น 1, 2, 3, 4 และ 5 โดย สถาบันทดสอบทักษะทางด้านดิจิทัล
  • สัมมนาวิชาการ ปัญญาประดิษฐ์กับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล โดย สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (สพธอ.) | 1 เมษายน 2564
  • สัมมนาวิชาการ แนวทางแนะนำสำหรับการเตรียมความพร้อมการละเมิดข้อมูลบุคคลสำหรับภาคการศึกษา (Guide to Data Breach Preparedness for Education Sector) by ศูนย์วิจัย สถาบันบัณฑิต พัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA Research Center) | 23 มีนาคม 2564
  • หลักสูตรฝึกอบรม การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลกับการเตรียมความพร้อมบุคลากร กรมสรรพสามิตร (PDPA for the Excise Department), Ministry of Finance | 17, 22 มีนาคม 2564
  • PDPA in Action: Understand PDPA in Practice, TeC HQ, AIA Capital Center Ratchada | 17 พฤศจิกายน 2563
  • Personal Data Protection Certificate โครงการ ICDL ช่วยคนไทยผ่านวิกฤตโควิด 19 Upskill & Reskill ด้านดิจิทัล โดย Digital Business Consult Co., Ltd. | 18-20 พฤษภาคม 2563
  • หัวข้อบรรยาย พรบ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (PDPA) ตั้งรับและทำความเข้าใจพร้อมแนวทางปฏิบัติ โดย สมาคมโฆษณาดิจิทัลแห่งประเทศไทย |  5 พฤษภาคม 2563
  • หัวข้อบรรยาย นโยบายว่าด้วยการบริหารจัดการข้อมูลสำหรับธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็กในยุคดิจิทัล (Policy on Data Protection Management for SMEs in Digital Era) โดย สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล (DEPA) | 11 กุมภาพันธ์ 2563

งานบริการวิชาการและงานภายนอกอื่น ๆ (บางส่วน)

  • ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกในการประเมินบทความ
    • วารสารกฎหมาย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
    • วารสารนิติปริทัศน์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
    • วารสารนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
    • วารสารบัณฑิตศึกษานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
    • Thai Legal Studies, Thammasat University
    • วารสารนิติสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
    • วารสารคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
    • วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
    • Kasetsart Journal of Social Sciences
    • วารสารสุโขทัยธรรมาธิราช
    • วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
    • วารสารศรีปทุมปริทัศน์ ฉบับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
    • วารสารรัฐศาสตร์นิเทศ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
    • วารสารกฎหมายนิติพัฒน์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
  • กรรมการสอบป้องกันวิทยานิพนธ์/การค้นคว้าอิสระ
    • หลักสูตรนิติศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
    • หลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต
      • สำนักวิชานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
      • คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
      • คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
      • คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม
    • หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเอเชียแปซิฟิกศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • การบริการวิชาการอื่นๆ
    • กรรมการสัมภาษณ์นักเรียนทุนรัฐบาลไทย สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน
    • กรรมการประเมินคุณภาพการศึกษา หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการจัดการวิเคราะห์ข้อมูลและเทคโนโลยีข้อมูล คณะสถิติประยุกต์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

การติดต่อ

คณะนิติศาสตร์
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
ชั้น 5 อาคารบุญชนะ อัตถากร 148 ถนนเสรีไทย
แขวงคลองจั่น เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240

E-mail :  thitat.gsl@gmail.com

โทรศัพท์ :   0-2727-3655

โทรสาร :    02-374-4731