รองศาสตราจารย์ ดร.อมรรัตน์ กุลสุจริต

Assoc. Prof. Dr. Amornrat Kulsudjarit

คณบดีคณะนิติศาสตร์

สาขาที่มีความเชี่ยวชาญ

  • กฎหมายมหาชน
  • กฎหมายรัฐธรรมนูญ
  • ทฤษฎีและหลักกฎหมายมหาชน
  • สิทธิและเสรีภาพขั้นพื้นฐาน
  • กฎหมายมหาชนทางเศรษฐกิจ
  • นิติปรัชญา

วิชาที่สอน

  • สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
    • (หลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต)
        • วิชาหลักกฎหมายเกี่ยวกับคดีทางรัฐธรรมนูญ
        • วิชากฎหมายรัฐธรรมนูญและสถาบันการเมืองชั้นสูง
        • วิชาทฤษฎีและหลักกฎหมายมหาชน
        • วิชากฎหมายมหาชนทางเศรษฐกิจ
        • วิชาระเบียบวิธีวิจัย
    • (หลักสูตรนิติศาสตรดุษฎีบัณฑิต)
        • วิชากฎหมายกับการพัฒนาขั้นสูง
        • วิชาวิทยาการวิจัยสำหรับวิทยานิพนธ์
  • มหาวิทยาลัยเกริก
    • (หลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต)
        • วิชากฎหมายรัฐธรรมนูญและสถาบันการเมือง
        • วิชาหลักกฎหมายมหาชน
        • วิชาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
    • (หลักสูตรนิติศาสตรดุษฎีบัณฑิต)
        • วิชาหลักกฎหมายมหาชนชั้นสูง
  • มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
    • วิชาหลักกฎหมายมหาชน (หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต)
    • วิชากฎหมายปกครองชั้นสูง (หลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต)

การศึกษา

พ.ศ. 2554
ปริญญาเอก 

  • Doctorat en droit (droit public), mention très honorable Université Aix-Marseille III (Paul Cézanne) สาธารณรัฐฝรั่งเศส

พ.ศ. 2541
ปริญญาโท
 

  • นิติศาสตรมหาบัณฑิต (กฎหมายมหาชน) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

พ.ศ. 2532
ปริญญาตรี

  • นิติศาสตรบัณฑิต  มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ประวัติการทำงาน

24 กันยายน 2566 – ปัจจุบัน

  • คณบดีคณะนิติศาสตร์  สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

ธันวาคม 2564 – 5 กรกฎาคม 2566

  • ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายกฎหมาย สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

1 พฤษภาคม 2563 – ปัจจุบัน

  • อาจารย์ประจำคณะนิติศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

สิงหาคม 2554 – เมษายน 2563

  • คณบดีคณะนิติศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกริก

กันยายน 2542 – พฤษภาคม 2546

  • รองคณบดีคณะนิติศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกริก

พ.ศ. 2537 – 2538

  • ผู้ช่วยกรรมาธิการ คณะกรรมาธิการรัฐสภาพิจารณาร่างแก้ไขเพิ่มเติม รัฐธรรมนูญ พ.ศ.2535 (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2538

ผลงานทางวิชาการ

ผลงานวิชาการ
วิทยานิพนธ์

  • วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต เรื่อง “ประมุขของรัฐในระบบรัฐสภา : ศึกษาในเชิงประวัติศาสตร์กฎหมายรัฐธรรมนูญเปรียบเทียบ กรณีของประเทศอังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมนีญี่ปุ่น และ ไทย”(The Head of state in Parliamentary system : A comparative study in constitutional history of England, France, Germany, Japan and Thailand) พ.ศ.2541
  • วิทยานิพนธ์ปริญญาเอก (กฎหมายมหาชน) เรื่อง “La responsabilité individuelle des membres du gouvernement : étude comparative des procédures constitutionnelles thaïlandaises et françaises” (ชื่อภาษาอังกฤษ : The individual responsibility of members of Government : a comparative study on the constitutional process of Thailand and France) พ.ศ.2554

บทความ

  • บทความวิชาการ เรื่อง “ปัญหาและข้อพิจารณาบางประการเกี่ยวกับการควบคุมและ ตรวจสอบการใช้อ านาจรัฐโดยองค์กรอิสระในประเทศไทย” วารสารร่มพฤกษ์, ปีที่ 21 ฉบับที่ 3 (มิถุนายน-กันยายน 2546) หน้า 62-108.
  • บทความวิชาการ เรื่อง “มาตรฐานทางจริยธรรมหรือจรรยาบรรณของรัฐมนตรี : กรณี เปรียบเทียบประเทศสิงคโปร์และประเทศไทย” รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติเนื่องใน โอกาสครบรอบปีที่ 50 แห่งการสถาปนาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (2559).
  • บทความวิชาการ เรื่อง “ระบบการตรวจสอบทรัพย์สินและหนี้สินของรัฐมนตรี”, วารสาร ร่มพฤกษ์, ปีที่ 34 ฉบับที่ 1 (มกราคม – เมษายน 2559).
  • บทความวิจัย อมรรัตน์ กุลสุจริต และ พัชรวรรณ นุชประยูร. (2561). การปฏิรูปกฎหมาย เพื่อพัฒนาฐานการผลิตการเกษตรให้เข้มแข็งและยั่งยืนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. รายงาน สืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติเนื่องในโอกาสครบรอบปีที่ 51 แห่งการสถาปนาสถาบัน บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์(31 มีนาคม 2560) หน้า 1092.
  • บทความวิจัย อมรรัตน์ กุลสุจริต และ พัชรวรรณ นุชประยูร. (2560). การปฏิรูปกฎหมาย ว่าด้วยสัญญาของรัฐในโครงการจ้างเหมาแบบเบ็ดเสร็จ (Legal Reforms on Public Contracts in Turnkey Project). วารสารร่มพฤกษ์, ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม – สิงหาคม 2561) หน้า 145 – 167.
  • บทความวิจัย อมรรัตน์ กุลสุจริต และ พัชรวรรณ นุชประยูร. (2561). การพัฒนารูปแบบ และวิธีการเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลของระบบตรวจสอบทรัพย์สินและหนี้สิน. วารสาร นิติศาสตร์, ปีที่ 47 ฉบับที่ 3 (กันยายน 2561) หน้า 647 – 682.
  • บทความวิจัย อมรรัตน์ กุลสุจริต และ พัชรวรรณ นุชประยูร. (2561). มาตรฐานสัญญาจ้าง เหมาแบบเบ็ดเสร็จ FIDIC : ข้อสังเกตบางประการของสัญญาจ้างเหมาแบบเบ็ดเสร็จในประเทศไทย. วารสารวิชาการ ป.ป.ช., ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2561) หน้า 2 – 28.
  • บทความวิจัย อมรรัตน์ กุลสุจริต และคณะ. (2562). แนวทางการพัฒนาระบบและกลไก เพื่อพัฒนาชุมชนให้เป็นสังคมที่ปลอดคอร์รัปชัน โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน: กรณีศึกษาชุมชนในเขต บางเขน เขตสายไหม เขตดอนเมือง และเขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร. วารสารวิชาการ ป.ป.ช., ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2562) หน้า 62 – 78.
  • บทความวิจัย อมรรัตน์ กุลสุจริต และคณะ. กระบวนการติดตั้งระบบและกลไกในการ ป้องกันและแก้ไขปัญหาคอร์รัปชันโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน : กรณีศึกษาชุมชนบางบัว เขตบางเขน และชุมชนหลังแฟลตร่วมพัฒนา เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร. วารสารร่มพฤกษ์, ปีที่ 38 ฉบับที่ 3 (กันยายน – ธันวาคม 2563) หน้า 8 – 21.
  • Amornrat Kulkudjarit et al. , “Strengthen the Effectiveness of Environmental Protection Through Community Empowerment for Building Corruption-Free Society”, In IOP Conference Series Earth and Environment Science, Vol. 576 (11 November 2020) , 11 p. (file:///C:/Users/ admin/Downloads/Kulsudjarit_2020_IOP_Conf._Ser.__Earth_Environ. _Sci._576_012023.pdf). [Scorpus]
  • บทความวิจัย อมรรัตน์ กุลสุจริต และคณะ. โครงการประเมินองค์กรพิทักษ์ระบบคุณธรรม ในราชการพลเรือนสามัญ. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคม มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, ปีที่ 15 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2564) หน้า 547 – 563.
  • บทความวิจัย อมรรัตน์ กุลสุจริต (ร่วมแต่ง). (2565).“การถอดบทเรียนแนวปฏิบัติที่ดีในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชนเมืองโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน : กรณีศึกษาชุมชนสะพานปูน เขตดอนเมือง กรุงเทพมหานคร. วารสารร่มพฤกษ์, ปีที่ 40 ฉบับที่ 3 (กันยายน – ธันวาคม 2565). น.55-76.
  • บทความวิจัย อมรรัตน์ กุลสุจริต (ร่วมแต่ง). (2565). “การศึกษาแนวทางในการนำโทษปรับทางปกครองหรือโทษปรับเป็นพินัยมาใช้แทนโทษอาญาตามพระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ. 2551”. วารสารนิติพัฒน์, ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565). น.51-76.

ตำรา/หนังสือ/เอกสารการสอน

  • อมรรัตน์ กุลสุจริต (ร่วมแต่ง). รายงานการศึกษา”ศาลรัฐธรรมนูญในรัฐเสรีประชาธิปไตยในศตวรรษที่ 21”. (บทที่ 6 ศาลรัฐธรรมนูญรัสเซีย). สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2566.
  • อมรรัตน์ กุลสุจริต. “บทบาทเชิงรุกของคณะตุลาการรัฐธรรมนูญฝรั่งเศสกับการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน” (น.448-455) ใน หนังสือที่ระลึกเนื่องในโอกาสเกษียณอายุราชการ ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ชาญชัย แสวงศักดิ์ (Mélanges en l’honneur du Président Charnchai Sawangsakdi). คณะทำงานหนังสือที่ระลึกเนื่องในโอกาสเกษียณอายุราชการ สำนักงานศาลปกครอง. 2565.
  • อมรรัตน์ กุลสุจริต (ร่วมแต่ง). รัฐธรรมนูญนิยม (Constitutionalism) ตามแนวคิด ศาสตราจารย์ ดร.อมร จันทรสมบูรณ์. จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์: กรุงเทพฯ, 2563. 117 หน้า.
  • ตำราเรียบเรียง วิชากฎหมายรัฐธรรมนูญและสถาบันการเมือง, ศูนย์ส่งเสริมวิจัยและผลิต ตำรา มหาวิทยาลัยเกริก. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกริก, 2561, 208 น.
  • เอกสารการสอนชุดวิชา หลักกฎหมายเกี่ยวกับการบริหารราชการไทย (Law and Regulations in Thai Bureaucracy), หน่วยที่ 9 หลักกฎหมายว่าด้วยการใช้อำนาจและการตรวจสอบ ของฝ่ายบริหาร, ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2, กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2559, น.9-1 – น.9-53.

งานวิจัย

  • โครงการวิจัย เรื่อง “การศึกษาวิเคราะห์ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายกองทุนเงินให้กู้ยืม เพื่อการศึกษาในประเทศไทย”. ทุนสนับสนุนจากสถาบันพระปกเกล้า (พ.ศ.2546). [หัวหน้าโครงการ]
  • โครงการวิจัย เรื่อง “โครงการศึกษาและพัฒนากฎหมายเพื่อการพัฒนาการผลิตและการ ใช้พลังงานทดแทน”. ทุนสนับสนุนจากกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวง พลังงาน (พ.ศ.2556). [นักวิจัยร่วม]
  • โครงการวิจัย เรื่อง “โครงการพัฒนาฐานการผลิตการเกษตรให้เข้มแข็งและยั่งยืน”. ทุน สนับสนุนจากสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) [พ.ศ.2557]. [นักวิจัยร่วม]
  • โครงการวิจัยเรื่อง “การปฏิรูปกฎหมายว่าด้วยสัญญาของรัฐในโครงการจ้างเหมาแบบ เบ็ดเสร็จ (Legal reform on Public Contracts in Turnkey projects)”. ทุนสนับสนุนจาก ส านักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) [พ.ศ.2558-2559]. [นักวิจัยร่วม]
  • โครงการวิจัย เรื่อง “โครงการประเมินองค์กรพิทักษ์ระบบคุณธรรมในราชการพลเรือน สามัญ”. ทุนสนับสนุนจากสำนักคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (กพ.) [พ.ศ.2559]. [นักวิจัยร่วม]
  • โครงการวิจัย เรื่อง “การพัฒนารูปแบบและวิธีการเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผล ของระบบตรวจสอบทรัพย์สินและหนี้สิน”. ทุนสนับสนุนจากส านักงานคณะกรรมการป้องกันและ ปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ(ปปช.) [พ.ศ.2559-2560]. [นักวิจัยร่วม]
  • โครงการวิจัย เรื่อง “แนวทางการพัฒนาระบบและกลไกเพื่อพัฒนาชุมชนให้เป็นสังคมที่ ปลอดคอร์รัปชันโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน : กรณีศึกษาชุมชนในเขตบางเขน เขตสายไหม เขต ดอนเมือง และเขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร”. ทุนสนับสนุนจากส านักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว) [พ.ศ.2561], 213 หน้า. [หัวหน้าโครงการ]
  • โครงการวิจัย เรื่อง “โครงการประเมินผลลัพธ์และผลกระทบของชุดโครงการ Research Platform ที่ดิน”. ทุนสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว) [พ.ศ. 2561]. [นักวิจัยร่วม]
  • โครงการวิจัย เรื่อง “โครงการการสังเคราะห์การทุจริตเชิงนโยบายเพื่อการออกแบบ ระบบและพัฒนากลไกการสกัดกั้นการทุจริตเชิงนโยบายของไทย” ทุนสนับสนุนจากสำนักงาน คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ(ปปช.) [พ.ศ.2563]. [นักวิจัยร่วม]
  • โครงการวิจัย เรื่อง “กระบวนการติดตั้งระบบและกลไกในการป้องกันและแก้ไขปัญหา คอร์รัปชันโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน : กรณีศึกษาชุมชนบางบัว เขตบางเขน และชุมชนหลัง แฟลตร่วมพัฒนา เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร”. ทุนสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการ วิจัย (สกว) [พ.ศ.2563], 229 หน้า. [หัวหน้าโครงการ]
  • โครงการวิจัย เรื่อง “หลักเกณฑ์และวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญในการตรวจสอบ ความชอบด้วยกฎหมายของมติคณะรัฐมนตรีหรือการด าเนินการของคณะรัฐมนตรีตาม พระราชบัญญัติการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2560 มาตรา 29”. ทุนสนับสนุนจากสำนักงานศาล รัฐธรรมนูญ (พ.ศ.2564). [นักวิจัยร่วม]
  • โครงการวิจัย เรื่อง “โครงการจัดทำตัวอย่างประมวลกฎหมายและกฎเกี่ยวกับการ กีฬา”. ทุนสนับสนุน จากสำนักงานขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความ สามัคคีปรองดอง (ส านักงาน ป.ย.ป.) [พ.ศ.2564]. [นักวิจัยร่วม]
  • โครงการวิจัย เรื่อง “การถอดบทเรียนแนวปฏิบัติที่ดีในการป้องกันและแก้ไขปัญหายา เสพติดในชุมชนเมืองโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน : กรณีศึกษาชุมชนสะพานปูน เขตดอนเมือง ก รุ ง เ ทพ ม ห าน ค ร (Lessons Learned from the Best Practice of Drug Prevention and Solution in the City Communities By Community Participation : A case study of Sapanpoon Community, Donmueang, Bangkok)”. ทุนสนับสนุนจากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช) [พ.ศ.2564], 229 หน้า. [นักวิจัยร่วม]
  • โครงการวิจัย เรื่อง “ผลผูกพันของคำตัดสินของศาลรัฐธรรมนูญ”. ทุนสนับสนุนจาก สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ (พ.ศ.2564). [นักวิจัยร่วม]
  • โครงการวิจัย เรื่อง “ศึกษาแนวทางในการนำโทษปรับทางปกครองหรือโทษปรับเป็น พินัยมาใช้แทนโทษอาญาตามพระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ. 2551”. ทุน สนับสนุนจากสำนักงานคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์(พ.ศ.2565). [หัวหน้าโครงการ]
  • โครงการวิจัย เรื่อง สภาพบังคับคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญตามพระราชบัญญัติประกอบ รัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2561 มาตรา 74 และข้อกำหนดศาลรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2562 ข้อ 44 และข้อ 45”. ทุนสนับสนุนจากสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ (พ.ศ.2566). [นักวิจัยร่วม]
  • โครงการวิจัยเชิงปฏิบัติการ “นวัตกรรมทางสังคมเพื่อสร้างชุมชนเข้มแข็งพื้นฐานของ “ประชาธิปไตยอัตลักษณ์ไทย”. ทุนส่งเสริมกลุ่มวิจัยศักยภาพสูง ประจำปี 2566 สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) (พ.ศ.2566 – 2568). [นักวิจัยร่วม และอยู่ระหว่างดำเนินการ ระยะเวลาดำเนินโครงการ 3 ปี]
  • โครงการศึกษาวิจัยเรื่อง ศึกษาความเป็นไปได้ในการใช้มาตรการทางปกครองร่วมกับบทลงโทษตามกฎหมายกรณีเมาแล้วขับ”. ทุนสนับสนุนจากสำนักงานคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ (พ.ศ.2567). [นักวิจัยร่วม]
  • โครงการศึกษาวิจัยเรื่อง “สภาพบังคับของแนวนโยบายแห่งรัฐตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 75”.  ทุนสนับสนุนจากสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ (พ.ศ.2567). [หัวหน้าโครงการ. อยู่ระหว่างดำเนินการวิจัย]

ประวัติและผลงาน

ประสบการณ์งานด้านผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการต่าง ๆ

  • คณะทำงานศึกษาวิจัยกรณีคลองด่าน : ผลกระทบความสูญเปล่าทางเศรษฐกิจและผู้ที่ต้องรับผิดชอบในความเสียหายกรณีการบอกเลิกสัญญา (คำสั่งอนุกรรมการฝ่ายวิจัย สำนักงานป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ปปช.) พ.ศ.2556
  • กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิวิพากย์ผลงานทางวิชาการ การประชุมวิชาการระดับชาติเพื่อเสนอผลงานทางวิชาการ ระดับบัณฑิตศึกษา สาขานิติศาสตร์ วันที่ 31 กรกฎาคม 2557 ณ ห้องประชุมอาคารเกษมสรรค์ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต วิทยาเขตพัฒนาการ
  • ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความวิชาการ วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา /วารสารรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์
  • ผู้ทรงคุณวุฒิ กองบรรณาธิการ วารสารนิติพัฒน์นิด้า คณะนิติศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
  • ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความวิชาการ และผู้ทรงคุณวุฒิวิพากษ์ผลงานวิชาการ การประชุมวิชาการระดับชาติ “ธรรมศาสตร์-นิติพัฒน์” จัดโดย คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ และคณะนิติศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
  • อนุกรรมาธิการพิจารณากรอบการจัดทำรัฐธรรมนูญ คณะที่ 1 (ประกาศคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ เรื่อง ตั้งอนุกรรมาธิการพิจารณากรอบการจัดทำรัฐธรรมนูญ คณะที่ 1 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2557)
  • ที่ปรึกษาคณะอนุกรรมาธิการพิจารณาศึกษาและติดตามด้านพลังงานทดแทน ตามคำสั่งคณะกรรมาธิการการพลังงาน สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ที่ อ.กมธ.1(2)/2558 เรื่อง ตั้งที่ปรึกษาคณะอนุกรรมาธิการพิจารณาศึกษาและติดตามด้านพลังงานทดแทน ลงวันที่ 22 มกราคม 2558
  • อนุกรรมาธิการศึกษาเตรียมการจัดทำร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยศาลรัฐธรรมนูญและวิธีพิจารณาคดีของศาลรัฐธรรมนูญ คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ (พ.ศ.2558)
  • อนุกรรมาธิการศึกษาเตรียมการจัดทำร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะรัฐมนตรี คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ (พ.ศ.2558)
  • คณะทำงานจัดทำร่างกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา (มคอ.1) สาขาวิชานิติศาสตร์ ที่ประชุมคณบดีคณะนิติศาสตร์ สถาบันอุดมศึกษาทั่วประเทศ
  • คณะกรรมการวิพากษ์หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ วิทยาลัยนครราชสีมา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2560
  • คณะอนุกรรมการพิจารณาเสนอกฎหมายที่ต้องจัดทำใหม่เพื่อสนับสนุนยุทธศาสตร์ชาติและการปฏิรูปประเทศ (คำสั่งคณะกรรมการดำเนินการปฏิรูปกฎหมายในระยะเร่งด่วน ที่ 016/2560 ลวท. 14 ธันวาคม 2560)
  • คณะอนุกรรมการจัดทำกฎหมายว่าด้วยการจัดทำประมวลกฎหมาย (คำสั่งคณะกรรมการดำเนินการปฏิรูปกฎหมายในระยะเร่งด่วน ที่ 018/2560 ลวท. 14 ธันวาคม 2560)
  • คณะกรรมการประเมินผลงานของผู้เข้ารับการประเมินเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการระดับเชี่ยวชาญ (สายนิติการ) (สังกัดสำนักกฎหมาย และสำนักกรรมาธิการ 1), (คำสั่งสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ที่ 255/2563 ลวท. 31 มกราคม 2563)
  • คณะอนุกรรมการปฏิรูปกฎหมายเพื่อลดความเหลื่อมล้ำและการแก้ไขปัญหาสังคม (คำสั่งคณะกรรมการดำเนินการปฏิรูปกฎหมายในระยะเร่งด่วน ที่ 1/2563 ลวท. 12 พฤศจิกายน 2563)
  • คณะทำงานยกร่างและปรับปรุงแก้ไข ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ หรือข้อกำหนดเกี่ยวกับสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) (คำสั่งคณะอนุกรรมการกฎหมาย สมศ. ที่ 1/2563 ลวท. 18 กันยายน 2563)
  • คณะทำงานปรับปรุงแก้ไขอนุบัญญัติเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) (คำสั่งคณะอนุกรรมการบริหารงานบุคคล สมศ. ที่ 4/2564 ลวท. 21 พฤษภาคม 2564)
  • คณะกรรมการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร ประจำปีการศึกษา 2563 – 2565 คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • คณะกรรมการกฎหมาย ที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ.) 2565-ปัจจุบัน
  • คณะกรรมการกลั่นกรองเรื่องการประชุมคณะกรรมการบริหารกิจการองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ (6 มีนาคม 2567-ปัจจุบัน)

วิทยากรหน่วยงานรัฐอื่น ๆ

  • วิทยากรหลักสูตรระเบียบวิธีวิจัยทางกฎหมายมหาชน โครงการพัฒนามาตรฐานงานนิติวิจัยทางมหาชนสู่ความเป็นเลิศทางวิชาการ พ.ศ.2559 ศาลรัฐธรรมนูญ
  • วิทยากรหลักสูตรการพัฒนานักกฎหมายท้องถิ่น กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (รุ่นอบรม พ.ศ.2559-2561) บรรยายหัวข้อเกี่ยวกับ “กฎหมายรัฐธรรมนูญเปรียบเทียบ”
  • วิทยากรหลักสูตรการพัฒนานักกฎหมายภาครัฐ ระดับปฏิบัติการ สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (รุ่นอบรม พ.ศ.2559-2564) บรรยาย หัวข้อ “สิทธิมนุษยชนและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ”
  • วิทยากรหลักสูตรพัฒนาความรู้ด้านกฎหมายและสอบสวน กลุ่มสายงานป้องกันและปราบปรามระดับรองผู้กำกับการ และสารวัตร ศูนย์ฝึกอบรม กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง (ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565) บรรยาย หัวข้อ “สิทธิมนุษยชนกับงานสืบสวนและสอบสวน”
  • วิทยากรหลักสูตร “พัฒนางานนิติการอุดมศึกษา” รุ่น 5 จัดโดย สถาบันคลังสมองของชาติ (วันที่ 12 – 14 มีนาคม 2568) บรรยาย หัวข้อ “บทบาทหน้าที่ของนักกฎหมายกับการบริหารมหาวิทยาลัย”

ดาวน์โหลด CV

ดาวน์โหลด CV

การติดต่อ

คณะนิติศาสตร์
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
ชั้น 5 อาคารบุญชนะ อัตถากร 148 ถนนเสรีไทย
แขวงคลองจั่น เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240

E-mail :  Deanofiice.gsl@nida.ac.th 
Amornrat.kul@nida.ac.th
Amornratkul@yahoo.com

โทรศัพท์ :  0-2727-3794

โทรสาร :  0-2374-4731